ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกออร์ค ซีม็อน โอห์ม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 21:
แต่ล่ะประเทศร่วมมือกันเพื่อต่อต้านนโปเลียนหนึ่งในนั่นมีประเทศเยอรมันเข้าร่วมด้วย เป็นเหตุทำให้คนหนุ่มผู้รักชาติอย่าง จอร์จ ไซมอน โอห์ม พยายามที่จะเข้าสมัครไปเป็นทหารอาสาสมัครอยู่ในกองทัพต่อต้านนโปเลียน แต่ถูกบิดาของเขาต่อต้านเอาไว้ เพราะเห็นว่าความรู้ที่โอห์มมีจะมีประโยชน์แก่ประเทศชาติมากกว่าที่เขาจะไปออกรบทำศึก โอห์มเมื่อใคร่ครวญดูแล้วก็มีความเห็นตามคำแนะนำของบิดา เขาจึงกลับมาเป็นอาจารย์เช่นดังเดิม ค.ศ. 1817 โอห์มได้ทำการศึกษาค้นคว้าและพิมพ์ผลงานของเขาออกเผยแพร่ ปรากฏว่าผลงานของโอห์มเป็นที่โปรดปรานของกษัตริย์เฟรเดริคแห่งปรัสเซีย (King Frederick of Prussia) มาก จึงทรงแต่งตั้งให้โอห์มได้ดำรงตำแหน่งเป็นศาสตราจารย์ทำการสอนวิชาคณิตศาสตร์ในคณะเยซูอิต (Jesuit College) แห่งมหาวิทยาลัยโคโลญ (Cologne)
== ผลงานและการค้นพบ ==
=== ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้าไฟฟ้ ===
ในปี ค.ศ. 1822 โจเซฟ ฟอร์เรอร์ (Joseph Fourier) ได้ตีพิมพ์ผลงานเรื่องการไหลเวียนของความร้อน (Analytic Theory Of Heart ) ภายในหนังสือเล่มนี้ได้อธิบายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของความร้อนไว้ว่า "อัตราการเคลื่อนที่ของความร้อนจากจุด A ไปยังจุด B หรือการที่ความร้อนไหลผ่านตัวนำโดยส่งต่อจากโมเลกุลหนึ่งไปยังโมเลกุลหนึ่ง ขึ้นอยู่กับความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิของจุดทั้งสอง และขึ้นอยู่กับตัวนำด้วยว่าสามารถถ่ายทอดความร้อนได้ดีขนาดไหน" เมื่อโอห์มได้นำมาอ่านและศึกษาอย่างละเอียด ในที่สุดโอห์มก็ได้เกิดความสนใจ และมีความคิดที่ว่าการไหลเวียนของกระแสไฟฟ้าในเส้นลวดนำไฟฟ้า อาจจะเกิดขึ้นคล้ายๆกันกับทฤษฎีของ โจเซฟ ฟอร์เรอร์ โอห์มได้เริ่มทำการทดลองโดยใช้วัตถุที่ใช้เป็นตัวนำไฟฟ้า ควรเลือกโลหะที่เป็นตัวนำไฟฟ้าที่ดี เช่น ทองแดง เงิน หรืออะลูมิเนียม เป็นต้น โอห์มจึงเริ่มทำการทดลองเกี่ยวกับการไหลของกระแสไฟฟ้าในเส้นลวดนำไฟฟ้า โอห์มก็พบความจริงอยู่ 3 ข้อ คือ กระแสไฟฟ้าจะไหลในเส้นลวดได้มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ