ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
| พระนามเต็ม =
| ฐานันดร = สมเด็จพระบวรราชเจ้า
| วันประสูติ = [[29 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2315]] <ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร| ชื่อหนังสือ = พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี| จังหวัด = กรุงเทพ| พิมพ์ที่ = สำนักพิมพ์บรรณกิจ| ปี = พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2549| ISBN = 974-221-818-8| หน้า = | จำนวนหน้า = 360}}</ref>
| วันประสูติ = [[29 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2315]] <ref>{{อ้างหนังสือ
| ผู้แต่ง = ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร
| ชื่อหนังสือ = พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี
| URL =
| จังหวัด = กรุงเทพ
| พิมพ์ที่ = สำนักพิมพ์บรรณกิจ
| ปี = พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2549
| ISBN = 974-221-818-8
| หน้า =
| จำนวนหน้า = 360
}}</ref>
| วันสวรรคต = [[16 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2360]] (45 พรรษา)
| พระอิสริยยศ = [[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]]
เส้น 34 ⟶ 24:
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์จักรี]]
}}
'''สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์''' มีพระนามเดิมว่า '''จุ้ย''' (29 มีนาคม พ.ศ. 2316 - 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2360) เป็น[[กรมพระราชโอรสลำดับที 7 วังบวรสถานมงคล]]ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเลิศหล้านภาลัย]] ประสูติแต่[[สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี]]
 
== พระราชประวัติ ==
ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก สมเด็จเจ้าฟ้าจุ้ยทรงได้รับสถาปนาเป็น'''กรมขุนเสนานุรักษ์''' ในปี พ.ศ. 2335 เมื่อ[[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท]]เสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 2350 [[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย|สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงอิศรสุนทร]] พระเชษฐาของพระองค์ได้รับการอุปราชาภิเษกเป็น[[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]] สมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนเสนานุรักษ์ได้รับเลื่อนเป็น'''กรมหลวงเสนานุรักษ์''' รับ'''พระบัณฑูรน้อย''' ช่วยราชการพระเชษฐา
'''สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์''' เป็นพระราชโอรสลำดับที 7 ใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] ประสูติแต่[[สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี]] หลังพระราชพิธีปราบดาภิเษกในปี พ.ศ. 2335 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกโปรดให้สถาปนาเป็น'''สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนเสนานุรักษ์'''<ref>[http://vajirayana.org/พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่-๑/๓-ประดิษฐานพระราชวงศ์ พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑ : ประดิษฐานพระราชวงศ์]</ref> ถึงปี พ.ศ. 2346 จึงเลื่อนเป็น'''กรมหลวงเสนานุรักษ์'''<ref>[http://vajirayana.org/พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่-๑/๑๐๘-เลื่อนกรมขุนเสนานุรักษ์และตั้งกรมขุนพิทักษ์มนตรี พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑ : เลื่อนกรมขุนเสนานุรักษ์และตั้งกรมขุนพิทักษ์มนตรี]</ref>
 
ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 2352 กรมพระราชวังบวรสถานมงคลได้รับราชาภิเษกเป็น[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย|พระบาทสมเด็จพระบรมราชาธิราชรามาธิบดี]] (ภายหลังได้รับเฉลิมพระนามเป็น'''พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย''') จึงโปรดเกล้าฯ ให้อุปราชาภิเษกเจ้าฟ้ากรมหลวงเสนานุรักษ์เป็น'''กรมพระราชวังบวรสถานมงคล''' ตำแหน่ง[[พระมหาอุปราช]]สืบแทนในวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2352 ไปประทับที่[[พระราชวังบวรสถานมงคล]] (วังหน้า)
เส้น 48 ⟶ 39:
กรมพระราชวังบวรสถานมงคลทรงอภิเษกกับพระราชธิดาใน[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]] เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2360 ขณะพระชนมายุ 44 พรรษา ณ พระที่นั่งวายุสถานอมเรศร์ ในหมู่พระวิมาน พระราชวังบวรสถานมงคล พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานพระโกศทองใหญ่ทรงพระบรมศพประดิษฐานพระบรมศพไว้ ณ [[พระที่นั่งพุทไธสวรรย์]] พระราชทานเพลิงพระศพ ณ พระเมรุท้องสนามหลวง ในวันพุธที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2361 หลังจากงานพระบรมศพแล้วพระบรมอัฐิถูกอัญเชิญไปประดิษฐานพระบุษบกทรงปราสาทเคียงข้างพระบรมอัฐิสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท ณ พระที่นั่งวายุสถานอมเรศและถูกอัญเชิญมาประดิษฐานอีกครั้งที่หอพระนาคในพระบรมมหาราชวัง และพระบรมอัฐิบางส่วนถูกอัญเชิญไปประดิษฐานที่ท้ายจระนำวัดชนะสงคราม หลังจากนั้นพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยไม่ได้ทรงแต่งตั้งผู้ใดเป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคลอีกเลยตลอดรัชกาล ตำแหน่งวังหน้าจึงว่างลงนับแต่บัดนั้น
 
ต่อมา[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ถวายพระนามใหม่ว่า'''กรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์'''<ref>[http://vajirayana.org/พระราชพงศาวดาร-กรุงรัตนโกสินทร์-รัชชกาลที่-๔/๒๐-ถวายพระนามพระเจ้าแผ่นดิน-พระบรมราชชนนี-และกรมพระราชวังบวรที่สวรรคตแล้ว พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชชกาลที่ ๔ : ถวายพระนามพระเจ้าแผ่นดิน พระบรมราชชนนี และกรมพระราชวังบวรที่สวรรคตแล้ว]</ref> จนถึงรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดให้เปลี่ยนคำนำพระนามจาก “กรมพระราชวังบวร” เป็น “'''สมเด็จพระบวรราชเจ้า”เจ้า'''”<ref>{{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = | ชื่อหนังสือ = ราชสกุลวงศ์| URL = http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf| จังหวัด = พิมพ์ครั้งที่ 14, กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร| ปี = 2554 | ISBN = 978-974-417-594-6| จำนวนหน้า = 296| หน้า = 213}}</ref>
 
== พระโอรส-ธิดา ==
เส้น 135 ⟶ 126:
 
== อ้างอิง ==
; เชิงอรรถ
{{รายการอ้างอิง}}
; บรรณานุกรม
{{เริ่มอ้างอิง}}
* {{cite web|title=พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑|url=http://vajirayana.org/พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่-๑|publisher=ห้องสมุดดิจิทัลวชิรญาณ|author=เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค)|date=๑๑ สิงหาคม ๒๕๓๑|accessdate=21 สิงหาคม 2560}}
* {{cite web|title=พระราชพงศาวดาร กรุงรัตนโกสินทร์ รัชชกาลที่ ๔|url=http://vajirayana.org/พระราชพงศาวดาร-กรุงรัตนโกสินทร์-รัชชกาลที่-๔|publisher=ห้องสมุดดิจิทัลวชิรญาณ|author=เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค)|date=๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๔๗๗|accessdate=21 สิงหาคม 2560}}
{{จบอ้างอิง}}
 
 
{{เริ่มกล่อง}}
เส้น 145 ⟶ 143:
| ตำแหน่ง = [[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]]<br> ([[ราชวงศ์จักรี]])
| จำนวนตำแหน่ง =
| ก่อนหน้า = [[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย|กรมพระราชวังบวรมหาอิศรสุนทรสถานมงคล (เจ้าฟ้าฉิม)]]
| จำนวนก่อนหน้า =
| ถัดไป = [[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพ]]
| จำนวนถัดไป =
| ช่วงเวลา = 22 กันยายน พ.ศ. 2352 - 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2360]
}}
{{จบกล่อง}}