ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นางกุสาวดี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พุทธามาตย์ ย้ายหน้า พระนางกุสาวดี ไปยัง นางกุสาวดี: ตามคำให้การชาวกรุงเก่า
ปรับเนื้อหาใหม่หมด
บรรทัด 4:
| สีอักษร = #8f5f12
| ภาพ =
| พระบรมนามาภิไธย = เจ้านางกุลธิดา
| พระปรมาภิไธย =
| พระนาม =
| วันประสูติ =
| วันสิ้นพระชนม์ =
| พระอิสริยยศ = สมเด็จพระพันปีหลวง
| พระบิดา = [[พญาพระแสนหลวงเมือง]]
| พระมารดา =
| พระอัครมเหสี =
| พระมเหสี =
| พระราชสวามี = [[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]<br>[[สมเด็จพระเพทราชา]]
| พระราชโอรส/ธิดา = [[สมเด็จพระสรรเพชญที่ 8]]
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์ปราสาททอง]]<br>[[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]]
| ทรงราชย์ =
| พิธีบรมราชาภิเษก =
บรรทัด 23:
| รัชกาลถัดมา =
}}
'''นางกุสาวดี''' เป็นพระราชธิดาของพระเจ้าเชียงใหม่ ได้เป็นสนมใน[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] แต่หลังจากนางตั้งครรภ์ได้ทรงยกให้เป็นภรรยาของ[[สมเด็จพระเพทราชา]] ส่วนพระราชโอรสนั้นต่อมาได้ขึ้นครองราชเป็น[[สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8|พระเจ้าสุริเยนทราธิบดี]] (พระเจ้าเสือ)
 
'''พระนางกุสาวดี''' หรือ '''เจ้านางกุสาวดี''' เป็นอิสตรีที่มีความสำคัญต่อประวัติศาสตร์ไทยอีกพระองค์ โดยมีส่วนเกี่ยวข้องใกล้ชิดกับพระมหากษัตริย์ไทยในสมัยอยุธยาถึง 3 พระองค์ คือ [[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] [[สมเด็จพระเพทราชา]] และ [[สมเด็จพระสรรเพชญที่ 8]] (สมเด็จพระเจ้าเสือ) จะกล่าวไปแล้ว พระนางกุสาวดีมีความเกี่ยวพันกับพระมหากษัตริย์ใน[[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]]ของกรุงศรีอยุธยาทั้ง 7 พระองค์ รวมทั้ง สมเด็จพระนารายมหาราชแห่งราชวงศ์ปราสาททอง รวมทั้งหมดเป็น 8 พระองค์
 
== พระประวัติ ==
นางกุสาวดีเป็นพระราชธิดาของพระเจ้าเชียงใหม่<ref>''นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย'', หน้า 162</ref> [[คำให้การชาวกรุงเก่า]]ระบุว่านางได้เป็นสนมในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ต่อมาทรงพระสุบินว่าเทวดามาบอกว่านางกุสาวดีกำลังตั้งครรภ์พระราชโอรสที่มีบุญมาก แต่พระองค์ได้ปฏิญาณไว้แล้วว่าจะไม่เลี้ยงลูกสนมเนื่องจากเกรงจะก่อกบฏเหมือนพระศรีสิงห์ ทรงนิมนต์พระอาจารย์พรหมมาปรึกษาในพระราชวัง พระอาจารย์พรหมแนะนำว่าควรชุบเลี้ยงไว้เผื่อภายหน้าจะได้สืบราชตระกูล จึงรับสั่งให้[[สมเด็จพระเพทราชา|เจ้าพระยาสุรสีห์]]เอานางกุสาวดีไปเลี้ยงเป็นภรรยา ถ้าได้ลูกชายให้ถือเป็นลูกของตน ถ้าได้ลูกสาวให้ถวายพระองค์ เจ้าพระยาสุรสีห์ปฏิบัติตามรับสั่ง จนทราบว่านางกุสาวดีคลอดลูกชายก็พระราชทานเครื่องอุปโภคบริโภคเป็นอันมากแก่กุมารนั้น ภายหลังยังได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น''เจ้าพระยาศรีสรศักดิ์''<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น'', หน้า 528</ref>
 
หลังจากสมเด็จพระนารายณ์เสด็จสวรรคต เจ้าพระยาสุรสีห์ได้สืบราชสมบัติ ส่วนนางกุสาวดีไม่ปรากฏว่าได้รับสถาปนาพระยศแต่อย่างใด<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น'', หน้า 540</ref>
พระนางกุสาวดี เดิมมีพระนามว่า เจ้านางกุลธิดา{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}} เป็นพระธิดาใน[[พญาแสนหลวง]] (พระแสนเมือง) [[เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่]] ในสมัย [[พ.ศ. 2193]] (ขณะนั้นเป็นเมืองขึ้นแก่[[พม่า]]) ครองเมืองได้ 13 ปี ใน พ.ศ. 2205 ก็เสียเมืองให้แก่[[เจ้าพระยาโกษาธิบดี (เหล็ก)]] ซึ่งเป็นแม่ทัพใน[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]] ในครั้งนั้น เจ้านางกุลธิดาได้ถูกนำตัวมาถวายเป็นบาทบาจาริกาแก่สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ต่อมา สมเด็จพระนารายณ์มหาราชได้ยกพระนางให้อภิเษกกับพระเพทราชา ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งเป็นเจ้ากรมช้าง กล่าวกันว่า ขณะนั้นพระนางได้ทรงครรภ์กับสมเด็จพระนารายณ์แล้ว แต่เกิดความละอายที่มีลูกกับหญิงลาว (ซึ่งแต่เดิมไทยอยุธยาถือว่า[[เชียงใหม่]]หรือ[[อาณาจักรล้านนา]]ก็เป็นลาวเหมืองกับล้านช้าง-หลวงพระบาง-เวียงจันทร์ และดูถูกว่าต่ำต้อยกว่าไทยที่อยุธยาหรือรัตนโกสินทร์{{อ้างอิง}}) จึงพระราชทานนางให้แก่พระเพทราชา พระนางประสูติพระโอรสที่ตำบลโพธิ์ประทับช้าง [[จังหวัดพิจิตร]] (บริเวณ[[วัดโพธิ์ประทับช้าง]]ในปัจจุบัน) มีนามว่า เจ้าเดื่อ หรือ มะเดื่อ ดังนั้น พระโอรสที่ประสูติจากพระนางจึงเป็นบุตรบุญธรรมของพระเพทราชา ซึ่งต่อมาก็คือ [[สมเด็จพระเจ้าเสือ]] พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยานั่นเอง
 
เมื่อ[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช]]สวรรคตแล้ว หลวงสรศักดิ์ (สมเด็จพระเจ้าเสือ) ได้เป็นกำลังสำคัญในการผลักดันให้พระเพทราชายึดอำนาจ โดยพระองค์กำจัดผู้มีสิทธิสืบราชสมบัติ 3 พระองค์ คือ พระราชอนุชาของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช 2 องค์ คือ [[สมเด็จเจ้าฟ้าอภัยทศ]]และ[[สมเด็จเจ้าฟ้าน้อย]] รวมทั้ง โอรสบุญธรรม คือ [[พระปีย์]] โดยมีพระสงฆ์จำนวนหนึ่งที่ไม่พอใจบาทหลวง[[คริสต์ศาสนา]]เข้าร่วม{{อ้างอิง}} รวมทั้งกองกำลังจากกองทหารมอญที่เข้ามารับราชการอยู่ในไทยเป็นกำลังในการสนับสนุนการยึดอำนาจ แล้วจึงปราบดาภิเษกพระเพทราชาขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาและสถาปนาราชวงศ์ใหม่ คือ [[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]] แทน
 
== รายการอ้างอิง ==
ต่อมา เมื่อสมเด็จพระเพทราชาสวรรคต สมเด็จพระเจ้าเสือซึ่งเป็นพระราชโอรสของพระนางกุสาวดีจึงขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์แห่งอาณาจักรอยุธยา โดยเป็นกษัตริย์ของราชวงศ์บ้านพลูหลวงองค์ที่ 2 และพระโอรสของสมเด็จพระเจ้าเสือ ซึ่งถือว่าเป็นพระราชนัดดาของพระนางกุสาวดี ก็ได้ครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์ของกรุงศรีอยุธยาสืบต่อมา ด้วยเหตุนี้ พระนางกุสาวดีจึงมีส่วนเกี่ยวข้องกับ พระมหากษัตริย์ในราชวงศ์บ้านพลูหลวงทุกพระองค์
; เชิงอรรถ
{{รายการอ้างอิง|2}}
 
; บรรณานุกรม
==อ้างอิง==
{{เริ่มอ้างอิง}}
* [http://watphopratabchang.igetweb.com/index.php?mo=3&art=73720 ประวัติ วัดโพธิ์ประทับช้าง จากพระราชพงศาวดารกรุงเก่า]
* {{อ้างหนังสือ | ผู้แต่ง = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | ชื่อหนังสือ = นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย | URL = https://www.tmd.go.th/Thai_king_directories.pdf| พิมพ์ที่ = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | จังหวัด = กรุงเทพฯ | ปี = 2554 | ISBN = 978-616-7308-25-8| จำนวนหน้า = 264}}
* [http://www.sanyasi.org/index.php?lay=show&ac=article&Id=528270&Ntype=6 ตำนานเมืองเชียงใหม่]
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = | ชื่อหนังสือ = พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น| จังหวัด = นนทบุรี| พิมพ์ที่ = ศรีปัญญา| ปี = 2553| ISBN = 978-616-7146-08-9| จำนวนหน้า = 800}}
{{จบอ้างอิง}}
 
{{เรียงลำดับ|กุสาวดี}}
[[หมวดหมู่:บุคคลในคริสต์ศตวรรษที่ 17]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์ปราสาททอง]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]]