ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเทวทัต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PanyaPangya (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
PanyaPangya (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 39:
| หมายเหตุ = ผู้ทำ[[อนันตริยกรรม]]ทั้งสองคือ [[สังฆเภท]]และ[[โลหิตุปบาท]]
}}
'''พระเทวทัต''' เป็นพระ[[ภิกษุ]]ในสมัย[[พระโคตมพุทธเจ้า]]ดำรงพระชนม์ชีพ เป็นพระราชโอรสใน[[พระเจ้าสุปปพุทธะ]]ผู้ครองกรุงเทวทหะแห่ง[[แคว้นโกลิยะ]] จึงมีศักดิ์เป็นลูกพี่ลูกน้องกับพระพุทธองค์ พระเทวทัตเป็นที่รู้จักกันดีจากเรื่องราวในคัมภีร์พระพุทธศาสนา ว่าเป็นผู้ที่มีความร้ายกาจ กระทำแต่เรื่องไม่ลงรอยสมควรต่อพระพุทธเจ้าเป็นอันมากมาย ตลอดเวลาแห่งการบำเพ็ญพรตในพุทธวิสัยตั้งแต่ครั้งพระพุทธโคดมยังเป็นพระโพธิสัตว์ ตลอดถึงในปัจจุบันชาติ พระเทวทัตก็ยังคงประพฤติผิดถึงกับก่อ[[อนันตริยกรรม]]คือลอบปลงพระชนม์พระพุทธเจ้าและก่อการสังฆเภท<ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ 1 พระวินัยปิฎก เล่มที่ 1 มหาวิภังค์ ภาค 1 สังฆาทิเสส สิกขาบทที่ 10 '''เรื่องพระเทวทัต'''. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=1&A=18423&Z=18432&pagebreak=0]. เข้าถึงเมื่อ 5-6-52</ref>
 
ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาระบุว่า เดิมนั้นท่านออกบวชด้วยความบริสุทธิ์ใจ แต่ทว่าในที่สุดพระเทวทัตได้สำนึกผิดเมื่อช้าไป ได้ถูกธรณีสูบลงสู่[[อเวจี]]มหานรกหน้า[[วัดเชตวันมหาวิหาร]]<ref>อรรถกถาพระไตรปิฎก เล่มที่ 27 พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 19 ขุททกนิกาย ชาดก ภาค 1 '''อรรถกถาธรรมเทวปุตตชาดก'''. อรรถกถาพระไตรปิฏก. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://www.84000.org/tipitaka/atita100/jataka500.php?s=457]. เข้าถึงเมื่อ 5-6-52</ref> แต่ด้วยการกระทำที่เคยบำเพ็ญบุญบารมีมาแล้วในอดีตมากนับประมาณ และประกอบกับการเห็นถูกต้องตรงสัมมาทิฏฐิเมื่อก่อนสิ้นใจกลับสำนึกผิดมอบถวายกระดูกคางด้วยเป็นพระพุทธบูชาแม้ในขณะวินาศสุดท้ายในขณะที่ถูกแผ่นดินสูบ ทำให้พระพุทธเจ้าทรงพยากรณ์ด้วยเหตุนั้น ว่าเมื่อพระเทวทัตสิ้นกรรมจากอเวจีมหานรก จะได้ตรัสรู้เป็น[[พระปัจเจกพุทธเจ้า]] พระนามว่าอัฏฐิสสระในอนาคต<ref>อรรถกถา ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท ยมกวรรคที่ 1 '''พระเทวทัตเกิดในอเวจีถูกตรึงด้วยหลาวเหล็ก'''. อรรถกถาพระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25&i=11&p=12]. เข้าถึงเมื่อ 5-6-52</ref>
บรรทัด 49:
พระเทวทัตออกบวชพร้อมกับพระราชาและเจ้าชายแห่งศากยวงศ์รวม 6 พระองค์คือ [[พระภัททิยกาฬิโคธาบุตร|พระเจ้าภัททิยะ]] พระเจ้ากรุงกบิลพัสดุ์, [[พระอนุรุทธะ|เจ้าชายอนุรุทธะ]], [[พระอานนท์|เจ้าชายอานันทะ]], [[พระภัคคุเถระ|เจ้าชายภัคคุ]], [[พระกิมพิละ|เจ้าชายกิมพิละ]] และเจ้าชายเทวทัตแห่งโกลิยะวงศ์ และ[[พระอุบาลี|นายอุบาลี]] ช่างภูษามาลา อีกท่าน รวมเป็น 7 คน ณ อนุปิยอัมพวันแห่งมัลลกษัตริย์<ref>อรรถกถา ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท ยมกวรรคที่ 1 '''เรื่องพระเทวทัต''' . อรรถกถาพระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25&i=11&p=12]. เข้าถึงเมื่อ 5-6-52</ref> โดยพระพุทธองค์ทรงอุปสมบทให้ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทา ซึ่งหลังจากบวชได้ไม่นาน เจ้าชายทั้งหมดและนายอุบาลีภูษามาลาก็ได้บรรลุธรรมทั้ง[[โสดาบัน]] และ[[พระอรหันต์]] ยังคงเว้นแต่พระเทวทัตเท่านั้นที่ได้เพียง[[โลกิยสมาบัติ]]
 
เรื่องราวของพระเทวทัตหลังจากบวชปรากฏว่า พระเทวทัตได้ละความเพียรในการบำเพ็ญสมณธรรมอันสมควร เพราะว่าหลังจากได้ฤทธิ์ (จาก[[โลกียฌานโลกิยฌาน]])แล้ว พระเทวทัตได้ประพฤติร้ายกาจ ด้วยการแสดงฤทธิ์แปลงกายพร้อมทั้งเหาะไปในอากาศให้เจ้าชายอชาตศัตรูเห็น เพื่อให้เจ้าชายอชาตศัตรูยินยอมตนเป็นศิษย์กระทั้งยินยอมรับคำและการบำรุงอุปัฏฐากแก่ตนเองตน<ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ 7 พระวินัยปิฎก เล่มที่ 7 จุลวรรค ภาค 2 '''เรื่องพระเทวทัต'''. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=7&A=3342&Z=3382]. เข้าถึงเมื่อ 5-6-52</ref> และด้วยการยุยงว่าร้ายของพระเทวทัตนั้นเอง จึงเป็นสาเหตุให้เจ้าชายอชาติศัตรูชายอชาตศัตรูปลงพระชนม์พระเจ้าพิมพิสารผู้เป็นพระราชบิดา เพื่อขึ้นครองราชสมบัติของแคว้นมคธ
 
[[ไฟล์:Devadatta -Inciting_an_elephant_to_charge_at_the_Buddha.jpg|thumb|left|250px|ภาพจิตรกรรมฝาผนังพระพุทธประวัติ ตอนพระเทวทัตสั่งปล่อยช้างนาฬาคีรีเข้าทำร้ายพระพุทธองค์]]
 
นอกจากการยุยงส่งเสริมแบบผิดๆ แก่พระเจ้าอชาติศัตรูอชาตศัตรูจนกระทำ[[ปิตุฆาต]] พระเทวทัตยังได้พยายามลอบปลงพระชนม์พระพุทธเจ้าอีกหลายครั้ง<ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ 7 พระวินัยปิฎก เล่มที่ 7 จุลวรรค ภาค 2 '''พระเทวทัตส่งคนไปพยายามลอบปลงพระชนม์พระศาสดา'''. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=7&A=3544&Z=3556&pagebreak=0]. เข้าถึงเมื่อ 5-6-52</ref> เช่น ปล่อยช้างตกมันเข้าทำร้ายพระพุทธองค์, จ้างนายธนู 10 ผลัด ไปลอบยิงพระพุทธองค์ แต่ทุกครั้งไม่สามารถทำอะไรพระพุทธเจ้าได้ และกลับเป็นว่าผู้ที่ส่งไปทำร้ายเกิดศรัทธาและเคารพในพระพุทธเจ้าจนหมดสิ้น ทำให้พระเทวทัตลงมือพยายามลอบปลงพระชนม์เองโดยการกลิ้งหินให้ตกจากหน้าผาเขา[[คิชฌกูฏ]]ใส่พระพุทธเจ้า แต่หินกลับกระเด็นไปไกลจากพระพุทธเจ้าอย่างน่าอัศจรรย์ แต่ถึงกระนั้นสะเก็ดหินก็ทำให้พระพุทธเจ้าทรงห้อพระโลหิตที่ข้อพระบาท<ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ 7 พระวินัยปิฎก เล่มที่ 7 จุลวรรค ภาค 2 '''พระเทวทัตทำโลหิตุปบาท
'''. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=7&A=3616&Z=3644&pagebreak=0]. เข้าถึงเมื่อ 5-6-52</ref>
 
บรรทัด 78:
เหตุการณ์ปรากฏว่าพ่อค้าเลวนั้นแสร้งตรวจดู รู้ว่าเป็นถาดทองคำอันมีค่าราคาถึงแสนกหาปณะ ไม่ใช่ถาดโลหะธรรมดา ด้วยความที่พ่อค้าเป็นคนละโมภ อยากได้ถาดทองคำด้วยวิธีโกง จึงกล่าวแกล้งว่าราคาผิดความจริง ทำทีว่าถาดเก่านั้นไม่น่าสนใจไม่มีราคาจะแลกเปลี่ยน ทำคำพูดเป็นสำคัญว่าถาดนั้นไม่มีราคาค่างวดจะแลกซื้ออะไรได้ พร้อมกันนั้นก็โยนถาดนั้นทิ้งแล้วลุกจากเดินหนีไป โดยหวังเล่ห์กลว่าสักพักสักครู่จะเข้ามาใหม่เพื่อขอแลกของประดับเล็ก ๆ น้อย ๆ กับถาดทองของสองยายหลาน
 
คล้อยหลังไปไดได้สักพัก พ่อค้าพระโพธิสัตว์ผ่านมา เห็นพ่อค้าคนแรกออกจากตรอกทางนั้นไปแล้ว จึงแวะเข้ามาขายเครื่องประดับ ซึ่งคราวนี้ สองคนหลานสาวกับยายก็กระทำอาการอย่างที่ร้องบอกแก่พ่อค้าคนแรก ร้องบอกให้ตรวจดูถาดเก่าๆ คล้ำมอม ใบเดิมนั้น เผื่อว่าพ่อค้ารายนี้จะรับแลกเปลี่ยนไว้ด้วยเครื่องประดับอะไรสักอย่าง
 
เมื่อพ่อค้าตรวจถาดเก่าดูก็รู้ว่าเป็นถาดทองคำ มีราคาตั้งแสนกหาปณะ พ่อค้าพระโพธิสัตว์ (อดีตชาติของ[[พระสมณโคดมโคตมพุทธเจ้า]]) จึงบอกยายเจ้าของถาด ว่า '''“ ถาดนี้เป็นถาดทองมีราคามหาศาล ของที่ฉันนำมาเร่ขายทั้งหมดนี่ก็สู้ราคาถาดของยายไม่ได้หรอกจ๊ะ ”'''
 
ยายเจ้าของถาดเห็นความซื่อสัตย์ของพ่อค้าจึงบอกว่า “ ถาดนี้ เมื่อกี้พ่อค้าอีกคนโยนลงพื้นดูถูกว่าของไม่มีราคา แต่คราวนี้พ่อมาบอกว่ามีราคาตั้งแสน พ่อนี่ช่างตาถึงมีบุญเหลือเกิน เอาอย่างนี้ ฉันให้ถาดนี้แก่ท่าน เอาไปเถิด ส่วนท่านจะให้ของขายอะไรแก่ฉันกะหลานก็ได้ตามใจเถิด ”