ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รูด็อล์ฟ เฮิส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 20:
}}
 
'''รูดอล์ฟ เฮิสส์''' ({{lang-de|Rudolf Höss}}) เป็นเจ้าหน้าที่[[ชุทซ์ชทัฟเฟิล]]แห่ง[[นาซีเยอรมนี]] มียศเป็น[[ยศและเครื่องหมายของวัฟเฟิน-เอ็สเอ็ส|เอ็สเอ็ส-ชตูร์มบันน์ฟือเรอร์]] และปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้บัญชาการค่ายกักกันที่ยาวนานที่สุดของ[[ค่ายกักกันเอาชวิทซ์]]ใน[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] เขาได้ทดสอบและปฏิบัติวิธีการต่างๆเพื่อเร่งลงมือแผนการของ[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์|ฮิตเลอร์]]ที่จะกำจัดชาวยิวในยุโรปภายใต้การยึดครองของเยอรมันอย่างเป็นระบบหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งคือ '''[[การแก้ปัญหาชาวยิวครั้งสุดท้าย|มาตราการสุดท้าย]]''' (Final Solution).ด้วยความคิดริเริ่มของหนึ่งในผู้ใต้บังคับบัญชาของเขา SSเอ็สเอ็ส-Hauptsturmführerฮอฟท์ชตูร์มฟือเรอร์ (ร้อยเอก) Karl Fritzsch,เฮิสส์ได้แนะนำให้ใช้สารกำจัดศัตรูพืช [[ไซคลอน บี]] ที่มีสารไฮโดรเจนไซยาไนด์นำไปสู่กระบวนการฆ่า,เพราะฉะนั้นจึงอนุญาตให้เหล่าทหารหน่วยเอสเอสในค่ายกักกันเอาชวิทซ์ทำการสังหารผู้คนประมาณ 2,000 คนต่อชั่วโมง.เขาได้สร้างการติดตั้งขนาดใหญ่สำหรับการทำลายล้างอย่างต่อเนื่องของมนุษยชาติที่เคยรู้จัก.
 
เฮิสส์ได้เข้าร่วม[[พรรคนาซี]]ในปี ค.ศ. 1922 และหน่วยเอสเอสในปี ค.ศ. 1934.ตั้งแต่วันที่ 4 พฤษภาคม ค.ศ. 1940 ถึงเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1943 และอีกครั้งตั้งแต่วันที่ 8 พฤษภาคม ค.ศ. 1944 ถึง 18 มกราคม ค.ศ. 1945.เขาได้เป็นผู้รับผิดชอบของค่ายเอาชวิทซ์ที่มีประชากรจำนวนมากกว่าหนึ่งล้านคนถูกสังหารก่อนที่เยอรมนีพ่ายแพ้สงคราม.เขาได้ถูกตัดสินโทษประหารชีวิตด้วยการแขวนคอในปี ค.ศ. 1947 หลังการพิจารณาคดีที่วอร์ซอ.ในระหว่างที่เขาถูกคุมขังอยู่ในโปแลนด์.ได้ขอร้องต่อเจ้าหน้าที่โปแลนด์ให้เขาได้เขียนหนังสือซึ่งได้รับการเผยแพร่เป็นภาษาอังกฤษภายใต้ชื่อของผู้บังคับบัญชาค่ายเอาชวิทซ์:อัตชีวประวัติของรูดอล์ฟ เฮิสส์. มันได้ประกอบด้วยสองส่วน,ส่วนหนึ่งที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับชีวิตของเขาเองและคนอื่นๆที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเจ้าหน้าที่หน่วยเอสเอสคนอื่นๆที่เขาคุ้นเคย,โดยส่วนใหญ่ตั้งแต่[[ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์]]และ[[ธีโอดอร์ ไอค์เคอ]]และคนอื่นๆอีกหลายคน.