ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สารละลาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
hrewhrehreh
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:SaltInWaterSolutionLiquid.jpg|thumb|สารละลาย[[เกลือแกง]]ใน[[น้ำ]]]]
 
คือlthiohehkgisgwjw sdgjiusg jgoireuerh0 [j rugeuj8uherjhg9gksg
ในทาง[[เคมี]] '''สารละลาย''' ({{lang-en|solution}}) คือ[[สารผสม]]ที่เป็นเนื้อเดียวกัน ซึ่งมีสสารหนึ่งชนิดหรือมากกว่าเป็น[[ตัวละลาย]] ละลายอยู่ในสารอีกชนิดหนึ่งซึ่งเป็น[[ตัวทำละลาย]] ตัวอย่างเช่น ไม่เพียงแต่[[ของแข็ง]]ที่สามารถ[[การละลาย|ละลาย]]ในของเหลว เหมือน[[เกลือ]]หรือ[[น้ำตาล]]ที่ละลายในน้ำ (หรือแม้แต่[[ทองคำ]]ที่ละลายใน[[ปรอท]]แล้วเกิดเป็น[[อะมัลกัม]] (amalgam)) แต่[[ก๊าซ]]ก็สามารถละลายในของเหลวได้ เช่น [[คาร์บอนไดออกไซด์]]หรือ[[ออกซิเจน]]สามารถละลายในน้ำได้
 
*'''สารละลายอุดมคติ''' (ideal solution) คือการที่ปฏิกิริยาระหว่าง [[โมเลกุล]] ของตัวทำละลายกระทำซึ่งกันและกันมีค่าเท่ากับปฏิกิริยาระหว่างตัวทำละลายกับตัวถูกละลาย แล้วคุณสมบัติของสารละลายในอุดมคติสามารถคำนวณได้โดย[[ผลรวมเชิงเส้น]] (linear combination) ของคุณสมบัติของส่วนประกอบของตัวมัน
 
*'''ตัวทำละลาย''' (solvent) ตามความหมายแบบเดิมคือ สารในสารละลายที่มีปริมาณมากกว่าตัวถูกละลาย ถ้าทั้งตัวถูกละลายและตัวทำละลายมีปริมาณเท่ากัน (เช่น สารละลายมี [[เอทานอล]] 50% และ [[น้ำ]] 50%) คำจำกัดความเกี่ยวกับตัวทำละลายและตัวถูกละลายจะมีความสำคัญน้อยลง
แต่โดยทั่วไปสารที่มีปริมาณมากกว่าจะถูกกำหนดให้เป็นตัวทำละลาย
 
สารละลายแบ่งออกเป็นหลายประเภทดังนี้:
<table class="wikitable"><tr><th rowspan=2 colspan=2>ตัวอย่างของสารละลาย</th><th colspan=3>ตัวถูกละลาย</th></tr>
<tr><th>ก๊าซ</th><th>ของเหลว</th><th>ของแข็ง</th></tr>
<tr><th rowspan=3>ตัวทำละลาย</th><th>ก๊าซ</th><td>[[ออกซิเจน]] และ ก๊าซอื่นใน [[ไนโตรเจน]] (อากาศ) </td><td>[[ไอน้ำ]] ใน [[อากาศ]] ([[ความชื้น]]) </td><td>[[กลิ่น]] ของของแข็งเป็นผลมาจากโมเลกุลของของแข็งกระจายตัวในอากาศ</td></tr>
<tr><th>ของเหลว</th><td>[[คาร์บอนไดออกไซด์]] ในน้ำ ([[น้ำคาร์บอเนต]]) </td><td>[[เอทานอล]] ([[แอลกอฮอล์]]) ในน้ำ; [[ไฮโดรคาร์บอน]] หลายชนิดใน ([[ปิโตรเลียม]]) </td><td>[[ซูโครส]] ([[น้ำตาลทราย]]) ในน้ำ; [[โซเดียมคลอไรด์]] ([[เกลือแกง]]) ในน้ำ</td></tr>
<tr><th>ของแข็ง</th><td>[[ไฮโดรคาร์บอน]] ละลายในโลหะ; [[แพลทินัม]] ถูกศึกษาให้เป็นตัวกลางในการเก็บ</td><td>[[น้ำ]] ใน [[ถ่านกัมมันต์]](activated charcoal) ; ความชื้นใน [[ไม้]]</td><td>[[เหล็กกล้า]], [[ดูราลูมิน]](duralumin) [[โลหะ]]อื่น [[โลหะผสม]]</td></tr></table>
 
== อ้างอิง ==
{{เริ่มอ้างอิง}}
* {{Cite book | first = Andrew | last = Streitwieser | coauthors = Heathcock, Clayton H., Kosower, Edward M. | year = 1992 | title = Introduction to Organic Chemistry | edition = 4th ed. | publisher = Macmillan Publishing Company, New York | ID = ISBN 0-02-418170-6}}
{{จบอ้างอิง}}
 
{{วิกิตำรา|Transwiki:Creating chemical solutions}}
 
[[หมวดหมู่:สารละลาย| ]]
{{โครงวิทยาศาสตร์}}
 
[[io:Dissolvuro]]
[[scn:Sciugghimentu]]