ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิทยุสมัครเล่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Sornsilp khlongkhlaew (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13:
"กิจการวิทยุสมัครเล่น" ได้รับการรับรองอย่างถูกต้องตามกฎหมายอย่างแท้จริงเมื่อ วันที่ [[4 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2530]] จากการประกาศใช้ระเบียบคณะกรรมการประสานงานการจัดและบริหารความถี่วิทยุแห่งชาติ ว่าด้วยกิจการวิทยุสมัครเล่น พ.ศ. 2530 นับได้ว่าเป็นการเปิดโอกาสให้มีการติดต่อสื่อสารแบบ "[[นักวิทยุสมัครเล่น]]" อย่างแท้จริงขึ้นในประเทศไทย
 
ต่อมาได้มีการเปลี่ยนแปลง "สัญญาณเรียกขานนักวิทยุอาสาสมัคร" เป็น "สัญญาณเรียกขานนักวิทยุสัมคเล่น" จาก VR ... เป็น HS ... ให้เป็นไปตามสากลกำหนด ซึ่ง ITU กำหนดให้ประเทศไทยใช้ " HS " โดยมีนายศรศิลป์ คล่องแคล่ว ซึ่งขณะนั้นก็ได้เป็นนักวิทยุอาสาสมัคร ใช้สัญญาณเรียกขาน VR728 ต่อมาได้เทียบสัญญาณเรียกขานให้เป็นสากล เป็น HS1YI อ่านว่า "โฮเตล เชียร์ล่า วัน วาย ไอ หรือ โฮเตล เชียร์ล่า วัน แยงกี้ อินเดีย) ซึ่งข้อเท็จจริงตามสากลนิยมจะเป็นสัญญาณเรียกขานที่ใช้ติดตัวจนตาย (นิจนิรันดร์) แต่ถูกคนรุ่นใหม่ที่ทำหน้าที่สืบต่อมาในยุค กสทช. ยกเลิกไม่ให้ใช้ ข้อเท็จจริงควรสงวนไว้ให้เป็นเกีรยติประวัติแก่คนที่มีส่วนพัฒนาในกิจการวิทยุสมัครเล่นสืบไป ทั้งนี้ จากการติดตามข้อมูลนายศรศิลป์ฯ ทราบว่าล่่าสุดได้ขอย้ายตนเองไปสังกัดสำนักงาน กสทช. เขต 9 (เชียงใหม่) เป็นผู้ออกแบบ วางแผนในการจัดสรรระบบสัญญาณเรียกขานให้แก่นักวิทยุอาสาสมัครในสมัยนั้น ประมาณ 3 พันกว่าคน กระจายอยู่ทั่วประเทศ พร้อมได้แบ่งเขตสถานีควบคุมข่ายทั่วประเทศเป็น 10 โซน และกำหนดสัญญาณเรียกขานให้สถานีควบคุมข่ายแต่ละโซน เป็น HS1 ... / HS2 ... / HS3 ... / HS4 ... / HS5 ... / HS6 ... / HS7 ... / HS8 ... / HS9 ... เช่น นายศรศิลป์ฯ เดิมใช้สัญญาณเรียกขาน VR728 ต่อมาได้เทียบสัญญาณเรียกขานให้เป็นสากลตามลำดับเลขรหัส VR เป็น HS1YI อ่านว่า "โฮเตล เชียร์ล่า วัน วาย ไอ หรือ โฮเตล เชียร์ล่า วัน แยงกี้ อินเดีย) ซึ่งสากลจะเป็นสัญญาณเรียกขานที่ใช้ติดตัวจนตาย (นิจนิรันดร์) แต่ถูกคนรุ่นใหม่ที่ทำหน้าที่สืบต่อมาในยุค กสทช. ยกเลิกไม่ให้ใช้ ข้อเท็จจริงควรสงวนไว้ให้เป็นเกีรยติประวัติแก่คนที่มีส่วนในการนี้iพัฒนาในกิจการวิทยุสมัครเล่นสืบไป โอกาสต่อมาได้มีส่วนร่วมคัดสรรและเป็นคนลงทะเบียนสัญญาณเรียกนักวิทยุสมัครเล่น HS1A ถวายแด่ VR009 ต่อผู้บริหาร อันประกอบด้วยนายมนัส ทรงแสง หัวหน้าฝ่ายช่าง นายไกรสร พรสุธี ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารความถี่วิทยุ และอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข ตามลำดับ ิเพื่อถวายเป็นพระเกีรยติแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พร้อมและได้มีการออกใบอนุญาตพนักงานวิทยุสมัครเล่น เป็นครั้งแรกในปี 2531 ตั้งแต่มีการตรา พ.ร.บ. วิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 โดยมีนายศรศิลป์ คล่องแคล่ว เป็นผู้ออกแบบใบอนุญาตพนักงานรวิทยุวิทยุสมัครเล่นขั้นต้น ซึ่งกำหนดให้มีขนาดเล็กเท่ากับบัตร ATM และมีรหัสลับแต่ใช้วัสดุเป็นครั้งแรกกระดาษ เนื่องจากมีข้อจำกัดด้านเวลา ซึ่งเป็นกระดาษต้องสนองนโยบายแบบเร่งรัด และไม่ได้ตั้งงบประมาณไว้ (ปัจจุบันเป็นบัตรสมาร์ทการ์ด) เสนอขอความเห็นชอบผ่านนายไกสร พรสุธี ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารความถี่วิทยุ (ตำแหน่งราชการก่อนเกษียณ ปลัดกระทรวงคมนาคม และปลัดกระทรวง ICT รองเลขาธิการ APT) เสนออธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข จนได้รับการอนุมัติ และใช้ต่อสืบมาถึงปัจจุบัน และมีการพัฒนาเป็นบัตรสมาร์ทการ์ด
 
== ความเป็นนักวิทยุสมัครเล่นของประเทศไทยและการจัดตั้งสถานีวิทยุคมนาคมสมัครเล่น ==