ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระเชษฐาธิราช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Armonthap (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
| พระปรมาภิไธย =
| วันพระราชสมภพ =
| วันสวรรคต = [[พ.ศ. 2173]]2172
| พระราชบิดา = [[สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม]]
| พระราชมารดา = พระองค์อัมฤทธิ์<ref>{{cite book | last =| first =[[เยเรเมียส ฟาน ฟลีต]] | authorlink = | title = [[จดหมายเหตุวันวลิต]] | publisher = | series = | year = [[พ.ศ. 2507]]| doi = | isbn = }}</ref>
| พระมเหสี =
| พระราชสวามี =
| พระราชโอรส/ธิดา =
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์สุโขทัย]]
| ทรงราชย์ = [[พ.ศ. 2171]]
| พิธีบรมราชาภิเษก =
| ระยะเวลาครองราชย์ = 1 ปี 8 เดือน
บรรทัด 21:
| รัชกาลถัดมา = [[สมเด็จพระอาทิตยวงศ์]]
}}
'''สมเด็จพระเชษฐาธิราช''' หรือ '''สมเด็จพระบรมราชาที่ 2''' เป็นพระราชโอรสองค์พระองค์ใหญ่ใน[[สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม]] และเป็นพระราชนัดดาของสมเด็จพระเอกาทศรถ มีพระอนุชา 2 พระองค์ ได้แก่ เชษฐาใน[[พระพันปีศรีศิลป์สิน]] และ [[สมเด็จพระอาทิตยวงศ์]]<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)'', หน้า 264</ref>
{{แม่แบบ:พระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์สุโขทัย}}
'''สมเด็จพระเชษฐาธิราช''' หรือ '''สมเด็จพระบรมราชาที่ 2''' เป็นพระราชโอรสองค์ใหญ่ใน[[สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม]]และเป็นพระราชนัดดาของสมเด็จพระเอกาทศรถ มีพระอนุชา 2 พระองค์ ได้แก่ [[พระพันปีศรีศิลป์]] และ [[พระอาทิตยวงศ์]]
 
== พระราชประวัติ ==
เมื่อสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมเสด็จสวรรคตได้เกิดการชิงราชสมบัติระหว่างพระองค์กับพระพันปีศรีศิลป์ ([[จดหมายเหตุวันวลิต]] กล่าวว่า พระศรีศิลป์เป็นพระอนุชาในสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม) ฝ่ายพระองค์มี[[พระเจ้าปราสาททอง|ออกญาศรีวรวงศ์]]กับออกญาเสนาภิมุข ([[ยามาดะ นางามาซะ]]) เป็นกำลังสำคัญได้จับพระศรีศิลป์ ซึ่งเป็น[[พระมหาอุปราช]]สำเร็จโทษ แล้วกราบบังคมทูลเชิญพระองค์ขึ้นครองราชย์ ทรงพระนามว่า สมเด็จพระเชษฐาธิราช ซึ่งขณะนั้นมีพระชนมพรรษาได้ 15 พรรษา ออกญาศรีวรวงศ์ ได้เลื่อนฐานะเป็น [[พระเจ้าปราสาททอง|เจ้าพระยากลาโหมสุริยวงศ์]]
สมเด็จพระเชษฐาธิราช มีพระนามเดิมว่า'''สมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระเชษฐาธิราช''' เมื่อพระราชบิดาสวรรคตในปี พ.ศ. 2171 เหล่าขุนนางมี[[สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง|เจ้าพระยากลาโหมสุริยวงศ์]]เป็นประธานได้อัญเชิญพระองค์ขึ้นสืบราชสมบัติ ขณะนั้นพระชนมายุได้ 15 พรรษา<ref>''นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย'', หน้า 137</ref> แต่ 7 วันต่อมาพระพันปีศรีสินซึ่งกริ้วที่ขุนนางไม่ยกราชสมบัติให้ ได้ซ่องสุมพลที่เมืองเพชรบุรี สมเด็จพระเชษฐาธิราชทรงทราบจึงส่งทัพไปปราบ ได้ตัวพระพันปีศรีสินมา โปรดให้นำไปสำเร็จโทษ ณ วัดโคกพระยา ส่วนพรรคพวกให้ไปเป็นตะพุ่นหญ้าช้าง<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)'', หน้า 265</ref>
 
4 เดือนต่อมา มารดาเจ้าพระยากลาโหมถึงแก่กรรม มีพิธีปลงศพ ณ วัดกุฎธาราม ข้าราชการใหญ่น้อยไปช่วยงานมาก ข้าหลวงเดิมในสมเด็จพระเชษฐาธิราชเพ็ดทูลยุยงว่าเจ้าพระยากลมโหมอาจคิดก่อกบฏ ก็ทรงเชื่อ โปรดให้ทหารตามป้อมขึ้นประจำที่ เตรียมทหารไว้เป็นกอง ๆ แล้วให้ขุนมหามนตรีไปเรียกเจ้าพระยากลาโหมมาดูมวย แต่เจ้าหมื่นสรรเพธภักดีส่งข่าวไปแจ้งแผนการก่อน เจ้าพระยากลาโหมจึงบอกขุนนางว่า "''เจ้าแผ่นดินว่าเราเป็นกบฏแล้วเราจะทำตามรับสั่ง''" แล้วยกกองกำลังเข้ายึดพระราชวังได้ ส่วนสมเด็จพระเชษฐาธิราชกับข้าหลวงเดิมลงเรือหนีไป<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)'', หน้า 267</ref> เจ้าพระยากลาโหมให้พระยาเดโชและพระยาท้ายน้ำออกติดตามในคืนนั้นจนตามจับได้ที่ป่าโมกน้อย แล้วให้นำไปสำเร็จโทษ อยู่ในราชสมบัติได้ 1 ปี 7 เดือน<ref>''พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)'', หน้า 268</ref>
เมื่อพระองค์เสด็จขึ้นครองราชย์ได้หนึ่งปี แปดเดือน ก็คิดเกรงว่าเจ้าพระยากลาโหมสุริยวงศ์จะคิดแย่งราชสมบัติ จึงทรงหาทางกำจัดเสีย แต่ความนี้ได้รู้ไปถึงเจ้าพระยากลาโหมเสียก่อนก็ขัดเคือง จึงได้ยกกำลังบุกเข้าไปในวังหลวง พระองค์ไม่ได้คิดต่อสู้แต่หลบหนีไป เจ้าพระยากลาโหมสุริยวงศ์จึงสั่งให้พระยาเดโชและพระยาท้ายน้ำตามไปทันที่ป่าโมกน้อยแล้วจับสมเด็จพระเชษฐาธิราชมาได้ เจ้าพระยากลาโหมสุริยวงศ์จึงสั่งให้นำพระองค์ไปสำเร็จโทษเสีย เจ้าพระยากลาโหมสุริยวงศ์ได้ทูลเชิญ[[พระอาทิตยวงศ์]]พระอนุชาในสมเด็จพระเชษฐาธิราชเสด็จขึ้นครองราชสมบัติสืบต่อไป
 
== อ้างอิง ==
; เชิงอรรถ
{{รายการอ้างอิง|2}}
 
; บรรณานุกรม
{{เริ่มอ้างอิง}}
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = | ชื่อหนังสือ = พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น| จังหวัด = นนทบุรี| พิมพ์ที่ = ศรีปัญญา| ปี = 2553| ISBN = 978-616-7146-08-9| จำนวนหน้า = 800}}
* {{อ้างหนังสือ | ผู้แต่ง = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | ชื่อหนังสือ = นามานุกรมพระมหากษัตริย์ไทย | url = http://www.sac.or.th/main/pdf/Thai_king_directories.pdf | พิมพ์ที่ = มูลนิธิสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา | จังหวัด = กรุงเทพฯ | ปี = 2554 | ISBN = 978-616-7308-25-8| จำนวนหน้า = 264}}
{{จบอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[ลำดับรายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย]]
 
{{เริ่มกล่อง}}
เส้น 40 ⟶ 47:
|รูปภาพ = Seal of Ayutthaya (King Narai).png
|ตำแหน่ง = [[พระมหากษัตริย์]]แห่ง[[อาณาจักรอยุธยา]]<br />([[ราชวงศ์สุโขทัย]])
|ช่วงเวลา = [[พ.ศ. 2171]] - [[พ.ศ. 2173]]2172
|ก่อนหน้า = [[สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม]]<br />([[ราชวงศ์สุโขทัย]])
|วาระก่อนหน้า = ([[พ.ศ. 2153]] - [[พ.ศ. 2171]] )
|ถัดไป = [[สมเด็จพระอาทิตยวงศ์]]<br />([[ราชวงศ์สุโขทัย]])
|วาระถัดไป = ([[พ.ศ. 2173]])2172
}}
{{จบกล่อง}}
เส้น 51 ⟶ 58:
{{พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา}}
 
{{อายุขัย|2155|2172}}
{{ประสูติปี|2155}}{{สิ้นพระชนม์ปี|2172}}
{{แม่แบบ[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์แห่งในราชวงศ์สุโขทัย}}]]
 
 
[[หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2156]]
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา|ชษฐาธิราช]]
[[หมวดหมู่:ราชวงศ์สุโขทัย]]
 
[[หมวดหมู่:พระราชบุตรในสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม]]
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ถูกสำเร็จโทษ]]