ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 47:
| 289 (710)
| align = "center" | 2534 (1991)
| [[กรุงศรีอยุธยา]]เป็นเมืองหลวงแห่งที่สองของ[[ชาวสยาม]]ต่อจากสุโขทัย ถูกทำลายโดยกองทัพพม่าในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ซากปรักหักพังสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ อาทิ ปรางค์ และอารามขนาดใหญ่แสดงถึงความงดงามและความเจริญรุ่งเรืองในอดีต
|
|<ref>{{cite web |url=http://whc.unesco.org/en/list/576|title=Historic City of Ayutthaya|publisher=[[UNESCO]] |accessdate=28 May 2010}}</ref>
|-
บรรทัด 56:
| 11,852 (29,290)
| align = "center" | 2534 (1991)
| สุโขทัยเป็นเมืองหลวงแห่งแรกของชาวสยามในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 13 และ 14 สิ่งก่อสร้างจำนวนมากแสดงถึงจุดเริ่มต้นของ[[สถาปัตยกรรมไทย]]
|
|<ref>{{cite web |url=http://whc.unesco.org/en/list/574|title=Historic Town of Sukhothai and Associated Historic Towns|publisher=[[UNESCO]] |accessdate=28 May 2010}}</ref>
|-
บรรทัด 65:
| 622,200 (1,537,000)
| align = "center" | 2534 (1991)
| ประกอบด้วยผืนป่าเกือบทุกประเภทที่มีในภูมิภาค[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] เป็นบ้านของ[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]ขนาดใหญ่ 77% (โดยเฉพาะช้างและเสือ) 50% ของนกขนาดใหญ่ และ 33% ของสัตว์มีกระดูกสันหลังบกที่พบในภูมิภาคนี้
|
|<ref>{{cite web |url=http://whc.unesco.org/en/list/591|title=Thungyai-Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuaries|publisher=[[UNESCO]] |accessdate=28 May 2010}}</ref>
|-
บรรทัด 74:
| 64 (160)
| align = "center" | 2535 (1992)
| เป็นที่ตั้งถิ่นฐาน[[ยุคก่อนประวัติศาสตร์]]ที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แสดงให้เห็นถึงก้าวสำคัญของวิวัฒนาการทางวัฒนธรรมสังคมและเทคโนโลยีของมนุษย์ ทั้งของการเกษตร การผลิตและการใช้โลหะ
|
|<ref>{{cite web |url=http://whc.unesco.org/en/list/575|title=Ban Chiang Archaeological Site|publisher=[[UNESCO]] |accessdate=28 May 2010}}</ref>
|-
บรรทัด 83:
| 615,500 (1,521,000)
| align = "center" | 2548 (2005)
| เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์กว่า 800 ชนิด ได้แก่ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำนวน 112 สายพันธุ์ (รวมทั้งสัตว์น้ำสองสายพันธุ์) สัตว์ชนิดนก 392 สายพันธุ์ และสัตว์เลื้อยคลานกว่า 200 สายพันธุ์ มีระบบนิเวศ[[ป่าเขตร้อน]]ที่สำคัญซึ่งสามารถเป็นที่อยู่อาศัยเพื่อการอยู่รอดในระยะยาวของสัตว์สายพันธุ์เหล่านี้
|
|<ref>{{cite web |url=http://whc.unesco.org/en/list/590|title=Dong Phayayen-Khao Yai Forest Complex|publisher=[[UNESCO]] |accessdate=28 May 2010}}</ref>
|}