ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสรีภาพสื่อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Press freedom 2017.svg|250px|thumb|right|
<center>
'''ค่าดัชนีเสรีภาพของสื่อประจำปี 2017'''<ref name=RSF2017>{{cite web |url=https://rsf.org/en/ranking |title=2017 World Press Freedom Index |work=Reporters Without Borders |year=2017 |accessdate=}}</ref>
{|
|-
|
{{legend|#820000|Very serious situationแย่มาก}}
{{legend|#ff4100ff4100|Difficult situationแย่}}
{{legend|#ffb400ffb400|Noticeable problemsมีปัญหา}}
||
{{legend|#96afd896afd8|Satisfactory situationพอใช้}}
{{legend|#265c9d265c9d|Good situationดี}}
{{legend|#e0e0e0e0e0e0|Not classified / No dataไม่มีข้อมูล}}
 
|}
บรรทัด 18:
]]
{{เสรีภาพ}}
'''เสรีภาพของสื่อ''' ({{lang-en|Freedom of the press}}) หรือ '''freedom of the media''' เป็น [[เสรีภาพ]]รูปแบบหนึ่ง เกี่ยวกับการสื่อสารโทรคมนาคมและสื่อมวลชน รวมถึงสื่ออีเลกโทนิก และ และสื่อสิ่งพิมพ์ โดยปราศจากการแทรกแซงของ[[รัฐ]] โดย[[ประเทศไทย]]ในปี พ.ศ. 2560 จัดว่ามีสถานการณ์ "แย่" โดยองค์กรนักข่าวไร้พรมแดน (Reporters without borders)<ref name=RSF2017 />
 
ตามที่ [[ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน]] ของ [[สหประชาชาติ]] มีข้อบัญญัติไว้ในข้อที่ 19 ว่า: ''"ทุกคนมีสิทธิในอิสรภาพแห่งความเห็นและการแสดงออกสิทธินี้รวมถึงอิสรภาพในการที่จะถือเอาความคิดโดยปราศจากความแทรกสอดและที่จะแสวงหา รับและแจกจ่ายข่าวสารและความคิดเห็นไม่ว่าโดยวิธีใด ๆ และโดยไม่คำนึงถึงเขตแดน"''