ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไสยศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนการแก้ไขที่ 5901640 สร้างโดย 58.10.164.42 (พูดคุย)
บรรทัด 1:
{{ต้องการissues|เพิ่มอ้างอิง=yes|สั้นมาก=yes}}
'''ไสยศาสตร์''' หมายถึง วิชาทางไสย อันเป็น[[ลัทธิ]]เกี่ยวกับเวทมนตร์คาถาที่เชื่อว่ามาจาก[[ศาสนาพราหมณ์]]<ref>''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554'', หน้า 1276</ref> โดยเฉพาะจากคัมภีร์[[อถรรพเวท]] ที่มีพิธีเพื่อให้เกิดสิริมงคลป้องกันอันตรายต่อตนเองหรือทำอันตรายต่อผู้อื่น<ref>''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554'', หน้า 1404</ref>
{{โปร}}
'''ไสยศาสตร์''' เป็นวิชาเกี่ยวกับ[[เวทมนตร์]] [[คาถา]] และ [[เลขยันต์]] ประกอบกับการใช้อำนาจ[[สมาธิ]][[จิต]] การสาธยายเวทมนตร์คาถา [[การภาวนา]] และ[[การปลุกเสก]]
 
== อ้างอิง ==
ศาสตร์มืด หรือการทำ "คุณไสย" ในพจนานุกรมไทยให้คำจำกัดความ คุณไสย ว่า "เป็นพิธีกรรมเพื่อทำร้ายอมิตร" เป็นศาสตร์ที่ทางวิทยาศาสตร์ไม่อาจจะพิสูจน์ได้ แต่เป็นที่รู้จักกันทั่วไป และมีคนเชื่อและผู้ปฏิบัติทั่วโลก
; เชิงอรรถ
{{รายการอ้างอิง}}
 
; บรรณานุกรม
ในแต่ละชุมชนจะมีรูปแบบของไสยศาสตร์ที่แตกต่างกันออกไป แต่สรุปแล้วไสยศาสตร์ก็คือการทำให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งเกิดขึ้น โดยผิดแปลกจากกฎของธรรมชาติ เช่น ทำให้สามีภรรยาที่ดีกันทะเลาะและแยกทางกัน ทำให้สาวหลงรักหนุ่มที่เคยเกลียด ซึ่งปกติแล้วจะใช้ไสยศาสตร์มาใช้ในทางที่ชั่วร้าย โดยเฉพาะการทำ "คุณไสย" ที่เป็นพิธีกรรมเพื่อทำร้ายผู้ไม่เป็นมิตรด้วยการปลุกเสกสิ่งใดสิ่งหนึ่งเข้าไปในตัว หรือฝังรูปฝังรอย หรือการทำเสน่ห์ยาแฝด ลงนะ จากผู้ที่อ้างตัวว่ามีอาคม ซึ่งส่วนใหญ่ล้วนเป็นพวกที่ทำมาหากินด้วยการหลอกลวงผู้คน หรือที่เรียกว่า พวกสิบแปดมงกุฎ ถึงกระนั้นก็ตาม“คุณไสย” หรือ “มนต์ดำ” ยังมีผู้หลงงมงายมากมาย
{{เริ่มอ้างอิง}}
* {{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = [[ราชบัณฑิตยสถาน]]|ชื่อหนังสือ = พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 |URL = http://www.royin.go.th/dictionary/| จังหวัด = พิมพ์ครั้งที่ ๒, กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = ราชบัณฑิตยสถาน|ปี = 2556|ISBN = 978-616-7073-80-4|จำนวนหน้า = 1,544}}
{{จบอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:ไสยศาสตร์| ]]
ไสยศาสตร์ถือเป็นศาสตร์ที่ลี้ลับมีมาตั้งแต่ดึกดำบรรพ์ และมีทั่วโลกแม้กระทั่งในเวลาปัจจุบัน แม้รูปแบบจะแตกต่างกัน แต่ก็มีจุดมุ่งหมายเดียวกัน คือ การทำอันตรายต่อผู้คนด้วยวิธีที่ลี้ลับ
 
ลัทธิไสยศาสตร์ คือการรวมอำนาจจิต รวมพลังงานทางจิตซึ่งได้ทำการอบรมจิตใจให้มีความยึดมั่น เชื่อถือ อย่างจริงจัง ดำเนินไปตามหลักทางไสยศาสตร์ ตามวิธีการนั้น ๆ ก็จะสามารถแสดงฤทธิ์ปาฎิหารย์ได้ด้วยกระแสคลื่นแห่งพลังอำนาจจิตอันแรงกล้า ของ [[มโนภาพ]] [[สมาธิ]] [[จิตตานุภาพ]] ทั้งสามประการนี้ จึงเป็นบ่อเกิดแห่งอำนาจที่ประหลาดมหัศจรรย์ขึ้นได้
 
ลัทธิไสยศาสตร์ ได้เกิดขึ้นมา[[ก่อนพุทธกาล]] ในคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ '''[[พระเวท|ไตรเพท]]''' ในลัทธิของ[[พราหมณ์]] ได้แบ่งออกเป็น 4 ประเภทคือ
# ฤคเวทย์ เป็นคำฉันท์ใช้สำหรับสวดมนต์และสรรเสริญพระเจ้า
# ยชุรเวทย์ เป็นคำร้อยแก้วให้สำหรับท่องบ่นเวลาบวงสรวงบูชาพระเจ้า
# สามเวทย์ เป็นคำฉันท์ใช้สำหรับสวดมนต์ทำพิธีถวายน้ำโสม
# อาถรรพเวทย์ เป็นคัมภีร์ประกอบด้วยเวทยมนต์คาถาเรียกผีสาง เทวดาให้ช่วยป้องกันอันตรายให้ และให้มีการแก้อาถรรพ์ ทำพิธีสาปแช่งให้เป็นอันตรายได้ด้วย
 
ในทางพระพุทธศาสนาได้เรียกไสยศาสตร์ว่า เดรัจฉานวิชา ซึ่งเป็นคำกล่าวดูถูกของพระพุทธเจ้า เพราะไม่ใช่ทางหลุดพ้นจากความทุกข์ และยังเป็นที่ขวางกั้นทางไปสู่นิพพาน แม้ว่าสิ่งเหล่านี้จะทำให้มีความสุขได้แต่ก็ยังไม่พ้นทุกข์อยู่ดี และอีกอย่างยังนำมาซึ่งความหายนะ มีความอันตรายถึงแก่ชีวิตต่อผู้อื่นและตนเองได้
 
== อาถรรพเวทย์ ==
อาถไสยศาสตร์. อาถรรพเวทย์ในคัมภีร์ไสยศาสตร์ แยกออกเป็น 2 นิกาย คือ
# นิกายขาว (White System) เป็นวิชาที่ใช้ในทางดี คือช่วยเหลือมนุษย์ให้มีสุขปลอดภัย
# นิกายดำ (Black System) เป็นวิชาที่ใช้ในทางชั่ว คือทำให้เกิดอันตรายแก่ผู้อื่น
 
[[หมวดหมู่:ไสยศาสตร์]]