ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทรัพย์สิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AlphamaBot (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มลิงก์
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
thing#kun.R.R..RR....qq..C
{{ความหมายอื่น2|เกี่ยวกับ=กฎหมาย |สำหรับ= |ดูที่=[[ทรัพย์ (แก้ความกำกวม)|ทรัพย์]], [[ทรัพย์สิน (แก้ความกำกวม)|ทรัพย์สิน]], [[สินทรัพย์]], [[Thing (แก้ความกำกวม)|Thing]] และ [[Property (แก้ความกำกวม)|Property]]|เปลี่ยนทาง=[[ทรัพย์]], [[ทรัพย์สมบัติ]], [[Thing]] และ [[Property]]}}
{| class="navbox" style="float: right; margin: 0.8em; width:24em"
|+ <big>'''อักษรย่อ'''</big><br>'''ที่ใช้ในบทความนี้'''
|-
| style="background:#7ea12b;" align=center| <span style="color:white">'''อักษรย่อ'''<span>
! style="background:#bcdb75;"| <span style="color:#5b5b5b">คำเต็ม</span>
|-
|style="text-align:left"| ฎ.
|style="text-align:left"| [[คำพิพากษาศาลฎีกา]] ([http://www.deka2007.supremecourt.or.th/deka/web/search.jsp คลิก])
|-
|style="text-align:left"| บ.
|style="text-align:left"| [[บรรพ]]
|-
|style="text-align:left"| ป.พ.พ.
|style="text-align:left"| [[ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์|ประมวลกฎหมายแพ่ง<br>และพาณิชย์]] ([http://www.krisdika.go.th/wps/portal/general คลิก])
|-
|style="text-align:left"| ป.ร.
|style="text-align:left"| [[ประมวลรัษฎากร (ประเทศไทย)|ประมวลรัษฎากร (ไทย)]] ([http://www.krisdika.go.th/wps/portal/general คลิก])
|-
|style="text-align:left"| ป.วิ.พ.
|style="text-align:left"| [[ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ประเทศไทย)|ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา<br>ความแพ่ง (ไทย)]] ([http://www.krisdika.go.th/wps/portal/general คลิก])
|-
|style="text-align:left"| พ.ร.บ.
|style="text-align:left"| [[พระราชบัญญัติ]] ([http://www.krisdika.go.th/wps/portal/general คลิก])
|-
|style="text-align:left"| ภ.
|style="text-align:left"| [[ภาค]]
|-
|style="text-align:left"| ม.
|style="text-align:left"| [[มาตรา]]
|-
|style="text-align:left"| รก.
|style="text-align:left"| [[ราชกิจจานุเบกษา]] ([http://www.ratchakitcha.soc.go.th/RKJ/announce/newrkj.jsp คลิก])
|-
|style="text-align:left"| ล.
|style="text-align:left"| [[ลักษณะ]]
|-
|style="text-align:left"| ว.
|style="text-align:left"| [[วรรค]]
|-
|style="text-align:left"| ส.
|style="text-align:left"| ส่วนที่
|-
|style="text-align:left"| หม.
|style="text-align:left"| [[หมวด]]
|-
|colspan="2"|<span style="color:#5b5b5b">การใช้อักษรย่อในนี้เพื่อมิให้บทความเยิ่นเย้อเท่านั้น แต่โดยปรกติแล้วควรเขียนด้วยคำเต็มไม่ควรย่อ เช่น ''"ป.พ.พ. ม.123 ว.2"'' ควรเขียนว่า ''"ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 123 วรรคสอง"'' มากกว่า</span>
|}
{{คำพิพากษาไทย}}
'''ทรัพย์''' ({{lang-en|thing}}) หมายถึง วัตถุมีรูปร่าง ซึ่งได้แก่สิ่งที่มองเห็นได้ด้วยตา สัมผัสได้ด้วยมือ อาทิ โต๊ะ ตู้ ตั่ง เตียง ช้าง มา วัว ควาย เป็นคำมาจากคำใน[[ภาษาสันสกฤต]]ว่า "ทฺรวฺย"<ref name = RoyinDict>ราชบัณฑิตยสถาน, 2551 : ออนไลน์.</ref>
 
'''ทรัพย์สิน''' หรือเดิมเรียก '''ทรัพย์สมบัติ'''<ref name = "Civil Procedure Act, RS 115-Section 10">ดู มาตรา 10 แห่ง [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2439/033/367.PDF พระราชบัญญัติกระบวนพิจารณาความแพ่ง รัตนโกสินทรศก 115]</ref> ({{lang-en|property, (โบราณ) propriety}}) หมายความถึง วัตถุทั้งที่มีรูปร่างและไม่มีรูปร่าง ซึ่งอาจมีราคาและอาจถือเอาได้ เช่น บ้าน ที่ดิน เป็นวัตถุมีรูปร่าง ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร เป็นวัตถุไม่มีรูปร่าง<ref name = RoyinDict/> ซึ่งแบ่งประเภทเป็น [[อสังหาริมทรัพย์]]-[[สังหาริมทรัพย์]] ซึ่งเดิมเรียก ทรัพย์สมบัติอันที่พึงเคลื่อนจากที่ได้-ทรัพย์สมบัติอันที่ไม่พึงเคลื่อนจากที่ได้<ref name = "Civil Procedure Act, RS 115-Section 10"/>, [[ทรัพย์แบ่งได้]]-[[ทรัพย์แบ่งไม่ได้]] และ [[ทรัพย์ในพาณิชย์]]-[[ทรัพย์นอกพาณิชย์]] นอกจากนี้ ยังมีการแบ่งทรัพย์สินออกเป็น [[สังกมทรัพย์]]-[[อสังกมทรัพย์]], [[วิญญาณกทรัพย์]]-[[อวิญญาณกทรัพย์]] และ [[โภคยทรัพย์]] ซึ่งปัจจุบันได้ยกเลิกไปหมดแล้วใน[[ประเทศไทย]]<ref>บัญญัติ สุชีวะ, 2551 : 9.</ref> <ref>ไพจิตร ปุญญพันธุ์, 2539 : 862-865.</ref> <ref name = Manit-27>มานิตย์ จุมปา, 2551 : 27.</ref>
 
บุคคลย่อมมีสิทธิในทรัพย์สิน สิทธิเช่นนี้เรียก "[[ทรัพยสิทธิ]]" ({{lang-en|real right}}) อันมีขึ้นได้ก็แต่เฉพาะที่กฎหมายกำหนดเท่านั้น อาทิ [[กรรมสิทธิ์]] [[สิทธิครอบครอง]] โดยเฉพาะผู้ทรงกรรมสิทธิ์นั้นย่อมมีอำนาจที่จะใช้สอย จำหน่ายจ่ายโอน ได้ดอกผล กับทั้งติดตามและเอาคืนซึ่งทรัพย์สินของตน รวมถึงขัดขวางมิให้ผู้อื่นสอดเข้าเกี่ยวข้องกับทรัพย์สินนั้นโดยมิชอบด้วยกฎหมาย
<!--
== นิยาม ==
 
=== ทรัพย์ ===
 
==== บทบัญญัติของกฎหมาย ====
 
{| class="wikitable"
|- bgcolor="#ebf5ff"
!ประเทศ/<br>เขตการปกครอง
!บทบัญญัติต้นฉบับ
!คำแปลบทบัญญัติ
|- bgcolor="#ebf5ff"
|-
| {{flagicon|Thailand}} [[ประเทศไทย|ไทย]]
||''' [[ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์|ป.พ.พ.]]'''<br>บ.1 หลักทั่วไป, ล.3 ทรัพย์<br><br>"[http://www.lawamendment.go.th/council/ow.asp?ID=4089&LastNode=True&Read= '''ม.137'''] ทรัพย์ หมายความว่า วัตถุมีรูปร่าง"
||'''Civil and Commercial Code'''<br>Book 1 : General Provisions, Title 3 : Things<ref>Thailand Civil and Commercial Code (online), Online : n.d.<br>[http://www.samuiforsale.com/Civil_Code_text_English_I.htm#III Civil and Commercial Code of Thailand, Book 1 : General Provisions, Title 3 : Things]</ref><br><br>"'''Section 137.''' Things are corporeal objects."
|-
| {{flagicon|Germany}} [[ประเทศเยอรมนี|เยอรมนี]]
|| '''Bürgerliches Gesetzbuch'''<br>Book 1 : General Part, Division 2 : Things and animals<ref>Langenscheidt Translation Service, 2009 : Online.<br>[http://www.gesetze-im-internet.de/englisch_bgb/ German Civil Code, Book 1 : General Part, Division 2 : Things and animals, Section 90 (Concept of the thing)]</ref><br><br>"'''Section 90 (Concept of the thing).''' Only corporeal objects are things as defined by law."
|| '''[[เบือร์แกร์ลิชส์เกเซทซ์บุค]]'''<br>บ.1 บททั่วไป, ภ.2 ทรัพย์และสัตว์<br><br>"'''ม.90 (มโนทัศน์ว่าด้วยทรัพย์)''' ทรัพย์ ตามที่ใช้ในกฎหมาย หมายถึงวัตถุมีรูปร่างเท่านั้น"
|-
| {{flagicon|Japan}} [[ประเทศญี่ปุ่น|ญี่ปุ่น]]
|| '''Minpō''' ({{lang-ja|民法}})<br>Part 1 : General Provisions, Chapter 4 : Things<ref>Ministry of Justice of Japan, 2009 : Online.<br>[http://www.japaneselawtranslation.go.jp/law/detail/?ft=2&re=02&dn=1&yo=Civil+Code&x=0&y=0&ky=&page=2 Japanese Civil Code, Part 1 : General Provisions, Chapter 4 : Things]</ref><br><br>"'''Article 85 (Definition).''' The term 'Things' as used in this Code shall mean tangible thing".
|| '''[[มินโป]]'''<br>ภ. บททั่วไป, หม.4 ทรัพย์<br><br>"'''ม.85 (บทอธิบายศัพท์)''' คำว่า 'ทรัพย์' ในประมวลกฎหมายนี้ หมายความว่า วัตถุมีรูปร่าง"
|-
|}
 
==== นิยาม ====
 
ตามกฎหมายไทยและกฎหมายของประเทศอื่น ๆ ใน[[ระบบซีวิลลอว์]]แล้ว '''ทรัพย์''' ({{lang-en|thing}}) ได้แก่ วัตถุมีรูปร่าง ({{lang-en|corporeal object}}) หมายความว่า เป็นสิ่งที่มองเห็นได้ด้วยตา จับต้องสัมผัสได้ด้วยมือ อาทิ สมุด ปากกา ยางลบ ไม้บรรทัด รถยนต์ เก้าอี้ ช้าง ม้า วัว ควาย ฯลฯ<ref>มานิตย์ จุมปา, 2551 : 5.</ref>
 
สำหรับทรัพย์ตามกฎหมายไทยนั้นมีบัญญัติใน [http://www.lawamendment.go.th/council/ow.asp?ID=4089&LastNode=True&Read= ป.พ.พ. ม.137] และเมื่อพิจารณาในบทบัญญัติถัดไป คือ [http://www.lawamendment.go.th/council/ow.asp?ID=4089&LastNode=True&Read= ม.138] ที่ว่า ''"ทรัพย์สิน หมายความรวมทั้งทรัพย์และวัตถุไม่มีรูปร่าง ซึ่งอาจมีราคาและอาจถือเอาได้"'' ทำให้นักกฎหมายไทยมีความเห็นเกี่ยวกับนิยามของทรัพย์เป็นสองฝ่าย
 
'''ฝ่ายแรก''' อาทิ [[บัญญัติ สุชีวะ]] [[ศาสตราจารย์]][[คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]<ref>บัญญัติ สุชีวะ, 2551 : 3.</ref> และ[[หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช]] [[ศาสตราจารย์|ศาสตราจารย์ (พิเศษ)]] [[คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]<ref name = Seni-11>เสนีย์ ปราโมช, 2521 : 11.</ref> เห็นว่า ในเมื่อทรัพย์สินมีความหมายเช่นนั้น ทรัพย์จึงต้องหมายความถึงวัตถุมีรูปร่างอันอาจมีราคาและอาจถือเอาได้ด้วย เพราะ ม.137 ต้องพิจารณาประกอบ ม.138
 
'''ฝ่ายที่สอง''' อาทิ [[พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตาบดี (บุญช่วย วณิกกุล)]] [[ประธานศาลฎีกา]]<ref>พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตาบดี (บุญช่วย วณิกกุล), 2502 : 331-335.</ref> [[หลวงประสาทศุภนิมิต (ประมูล สุวรรณศร)]] ศาสตราจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยลัยธรรมศาสตร์<ref>ประมูล สุวรรณศร, 2525 : 8-14.</ref> และ[[มานิตย์ จุมปา]] [[รองศาสตราจารย์]]คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<ref name = Manit-5>มานิตย์ จุมปา, 2551 : 5.</ref> เห็นว่า ทรัพย์หมายความเฉพาะวัตถุที่มีรูปร่างเท่านั้น โดยเฉพาะมานิตย์ จุมปา นั้นให้ความเห็นว่า<ref name = Manit-5/>
 
<blockquote>"...[หาก] เห็นว่าทรัพย์ต้องเป็นสิ่งที่มีรูปร่างซึ่งอาจมีราคาได้และอาจถือเอาได้ ก็จะหมายความว่า ทรัพย์ทุกอย่างเป็นทรัพย์สินอยู่ในตัว เช่นนี้ เหตุใดจะต้องแยกบัญญัติความหมายของทรัพย์ไว้เป็นมาตราหนึ่งต่างหากให้ยุ่งยาก</blockquote>
 
<blockquote>ดังนั้น ผู้เขียนจึงเห็นว่า ทรัพย์นั้นหมายถึงแต่สิ่งที่มีรูปร่างเท่านั้น โดยไม่จำเป็นต้องเป็นสิ่งที่อาจมีราคาและอาจถือเอาได้ เช่นนี้ สิ่งใดเป็น 'ทรัพย์' จึงไม่จำเป็นต้องเป็น 'ทรัพย์สิน' เสมอไป โดยทรัพย์ใดมีรูปร่างเฉย ๆ แต่ไม่อาจมีราคาและถือเอาได้ก็ไม่เป็นทรัพย์สิน เช่น พระจันทร์ ดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์อื่น ๆ เป็นต้น ส่วนหากทรัพย์ใดมีรูปร่างและยังอาจมีราคาและถือเอาได้แล้วทรัพย์นั้นย่อมเ-->ป็นทรัพย์สินด้วย</blockquote>
 
<blockquote>กรณีหนึ่งที่จะยกมาสนับสนุนความเห็นของผู้เขียนข้งต้น คือ การที่ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 143 บัญญัติว่า 'ทรัพย์นอกพาณิชย์ หมายความว่า ทรัพย์ที่ไม่สามารถถือเอาได้และทรัพย์ที่โอนแก่กันมิได้โดยชอบด้วยกฎหมาย' บทบัญญัตินี้แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า สิ่งที่ไม่สามารถถือเอาได้ เป็นทรัพย์"</blockquote>
 
=== ทรัพย์สิน ===