ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แม็ปลอจิสติก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
แมพลอจิสติก ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น แม็ปลอจิสติก: ตัวสะกด ป และใส่ไม้ไต่คู้แยกคำ
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "แมพลอจิสติก" → "แม็ปลอจิสติก"ด้วยสคริปต์จัดให้
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
[[ภาพ:Logistic map.png|right|thumb|320px|แมพลอจิสติกแม็ปลอจิสติก ที่ r=1,2,4]]
'''แมพลอจิสติกแม็ปลอจิสติก''' (logistic map) เป็น แมพ(ฟังก์ชัน ที่มี โดเมน และ เรนจ์ อยู่ในปริภูมิเดียวกัน) [[พหุนาม]] นิยมใช้เป็นตัวอย่างของระบบพลวัตไม่เป็นเชิงเส้นอย่างง่ายที่สามารถแสดงพฤติกรรม[[ทฤษฎีความอลวน|ความอลวน]]ได้ แมพลอจิสติกแม็ปลอจิสติกนี้เริ่มเป็นที่รู้จักกว้างขวางจากผลงานตีพิมพ์ของนักชีววิทยา [[โรเบิร์ต เมย์]] ([[:en:Robert May|Robert May]]) แรกเริ่มนั้น แมพลอจิสติกแม็ปลอจิสติกนี้ถูกสร้างขึ้นโดย [[ปิแอร์ ฟรองซัว เวอฮัลสท์]] ([[:en:Pierre François Verhulst|Pierre François Verhulst]]) เพื่อเป็นแบบจำลองการกระจายปริมาณประชากรมนุษย์ ต่อมาถูกนำไปใช้สำหรับ การเพิ่มปริมาณประชากรของ[[สปีชีส์]]อื่นๆ ภายใต้สภาวะแวดล้อมจำกัด เช่น อาหาร, โรค, และ อื่นๆ ซึ่งแบบจำลองจะมีพฤติกรรมจากผลของ :
# การสืบพันธุ์ คือ จำนวนประชากร จะเพิ่มขึ้นด้วยอัตราที่แปรผันตามจำนวนประชากรในขณะนั้น
# การขาดอาหาร คือ จำนวนประชากรจะลดลงด้วยอัตรา ที่แปรผันตาม จำนวนประชากรที่สภาพแวดล้อมนั้นสามารถรองรับได้ในทางทฤษฎี ลบออกด้วยค่าจำนวนประชากรในขณะนั้น
บรรทัด 16:
 
== พฤติกรรมตามค่า ''r'' ==
[[ภาพ:LogisticMap BifurcationDiagram.png|thumb|right|350px|[[แผนผังไบเฟอร์เคชัน]] ของแมพลอจิสติกแม็ปลอจิสติก]]
พฤติกรรมของระบบ ที่ค่าพารามิเตอร์ ''r'' ต่างๆ
* <math> 0 \leq r \leq 1 </math>, ประชากรจะตายไปจนหมดโดยไม่ขึ้นกับค่าเริ่มต้น โดยระบบมี[[จุดตายตัว]] ([[:en:fixed point|fixed point]]) เพียงจุดเดียวที่ <math> x=0 </math> ซึ่งเป็นจุดตายตัวแบบดึงดูด(attracting fixed point) หรือ เรียกว่า "จุดดูดซับ" (sink) และดึงดูดค่าเริ่มต้นทุกค่าใน [0,1]