ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าติโลกราช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 33:
อำนาจของพระเจ้าติโลกราช ได้ขยายไปด้านตะวันออกไปถึงล้านช้าง โดยปกป้องหลวงพระบางให้รอดพ้นจากการคุกคามของไดเวียด ซึ่งทำสงครามขยายอิทธิพลรุกรานหลวงพระบางในปี พ.ศ. 2023 ซึ่งก่อนหน้านั้นหลวงพระบางถูกกองทัพไดเวียดโจมตี พระมหากษัตริย์ลาวสิ้นพระชนม์พร้อมกับโอรสอีกสององค์ โอรสองค์สุดท้ายคือเจ้าซายขาวได้รับความช่วยเหลือจากพระเจ้าติโลกราช กองทัพล้านนาไปรบตอบโต้จนฝ่ายไดเวียดพ่ายกลับไป ชัยชนะครั้งนี้ทำให้พญาซายขาว พระมหากษัตริย์ลาวพระองค์ใหม่ มาสวามิภักดิ์ต่อพระเจ้าติโลกราช พระราชอำนาจของพระเจ้าติโลกราชจึงแผ่ไปกว้างขวาง ด้านตะวันตกขยายออกไปถึงรัฐฉาน ได้เมืองไลคา เมืองนาย เมืองสีป้อ เมืองยองห้วย เป็นต้น พระเจ้าติโลกราชได้กวาดต้อนครัวเงี้ยวเข้ามาใว้ในล้านนาถึงหมื่นเศษ ด้านเหนือตีได้เมืองเชียงรุ่ง เมืองยอง และได้กวาดชาวลื้อ บ้านปุ๋ง เมืองยองมาไว้ที่ลำพูน
 
]N8gpพระเจ้าติโลกราช เป็นพระมหากษัตริย์นักรบที่ทรงพระปรีชาสามารถได้แผ่ขยายอำนาจของกรุงราชธานีเชียงใหม่ไปทั่ว 57 หัวเมืองขึ้น ครอบคลุมทิศเหนือจรดเมือง[[เชียงรุ่ง]] (จิ่งหง) มณฑลยูนนาน ประเทศจีน เมือง[[เชียงตุง]] [[เมืองยอง]] ([[รัฐฉาน]] ประเทศพม่า) เมืองนาย เมืองไลค่า เมืองเชียงทอง เมืองปั่น เมืองยองห้วย เมืองสุ เมืองจีด เมืองกิง เมืองลอกจอก เมืองสีป้อ เมืองจาง รวมกว่า 11 เมืองทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำสาละวิน (รัฐฉาน พม่า) ทิศตะวันออกตีได้[[อาณาจักรล้านช้าง]] (ประเทศลาว) ทิศใต้จรดขอบแดนอยุธยา แนว ตาก เถิน ศรีสัชนาลัย (สุโขทัย) ลับแล แพร่ น่าน อาณาจักรล้านนาในรัชกาลของพระองค์เป็นยุคทอง รุ่งเรืองสูงสุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งได้รับการรับรองจากคนกลาง "โอรสแห่งสวรรค์"จักรพรรดิ์จีนแห่งราชวงศ์หมิง ซึ่งบันทึกไว้ใน"หมิงสื่อลู่"เป็นเอกสารโบราณประจำรัชกาลที่มีความน่าเชื่อถือมากที่สุดแห่งราชสำนักจักรพรรดิจีน และ ดร.วินัย พงศรีเพียร นักประวัติศาสตร์ผู้เรืองนาม ได้แปลไว้ในเอกสารชื่อ "ปาไป่สีฟู่ ปาไป่ต้าเตี้ยน" (คณะกรรมการสืบค้นประวัติศาสตร์ไทยในเอกสารภาษาจีน สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี จัดพิมพ์ในโอกาสเชียงใหม่มีอายุครบ 700 ปี ใน พ.ศ. 2539) บันทึกว่า จักรพรรดิ์จีนยกย่องให้พระเจ้าติโลกราชเป็น '''"ตาวหล่านนา"'''หรือท้าวล้านนาและพระราชทานเครื่องประกอบเกียรติยศมากมายนอกจากนี้ยังสถาปนาพระเกียรติยศเป็นลำดับ'''"สอง"''' รองจากองค์จักรพรรดิ์จีน ซึ่งตรงกับเอกสารของพม่าที่บันทึกสมัยอยุธยาก่อนกรุงแตกครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2305 ชื่อว่า "Zinme Yazawin (Chronicle of Chiang Mai หรือตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับพม่า) ดังความว่า '''ที่ใดก็ตามที่ปรากฏศัตรูขึ้นในแปดทิศของจักรพรรดิ์อุทิปวาผู้ปกครองทุกสิ่งภายใต้สวรรค์ ให้ท้าวล้านนาเจ้าฟ้าแห่งเมืองเชียงใหม่มีอำนาจที่จะปราบปรามและลงโทษศัตรูนั้นได้...''' ('''Wherever enemies appeae in the eight directions of the Empire of the Utipwa,who Rules All under Heaven ,Thao Lan Na , Chaofa of Chiang Mai with his forecs shall subdue and punish them.''') และทรงให้ราชสมญานามพระเจ้าติโลกราชว่า '''"ราชาผู้พิชิต"''', '''"ราชาแห่งทิศตะวันตก"''' ('''Victorious Monarch''', '''King of the West''') โดยให้เสนาบดีผู้ใหญ่ควบคุมเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตราพระราชลัญจกร พระสุพรรณบัตร เครื่องประกอบเกียรติยศมากมาย ทองคำแท่ง 100 ตำลึง เดินทางมาถึงเชียงใหม่ ทำพิธีอย่างยิ่งใหญ่ อลังการ นอกนั้นพระราชกรณียกิจที่สำคัญพระองค์ทรงเป็นเอกอัครศาสนูปถัมภก จึงทำให้รัชกาลของพระองค์พระพุทธศาสนารุ่งเรืองสูงสุด พระสงฆ์แตกฉานภาษาบาลี มีการตรวจชำระพระไตรปิฎก หรือสังคายนา เป็นครั้งที่ 8 ของโลก ณวัดเจ็ดยอด อ.เมืองเชียงใหม่ ในปี [[พ.ศ. 2020]] ทรงบำเพ็ญพระราชกุศลบวชกุลบุตรเป็นพระภิกษุจำนวน 500 รูปในอุทกสีมาหรืออุปสมบทกลางแม่นำปิงตามอย่างลัทธิลังกาวงค์ [[ในปี พ.ศ. 1990 เมื่อพระราชบิดา พระเจ้าสามฝั่งแกนสวรรคต จึงจัดการพระราชทานเพลิงพระศพแล้วสถาปนาพระสถูปบรรจุพระอัฐิไว้ ณ ป่าแดงหลวง ( อยู่เชิงดอยสุเทพ ในบริเวณ ม.เชียงใหม่) โดยบุทองแดงแล้วปิดทองทั้งองค์ เมื่อเสร็จงานในปีเดียวกันก็ออกผนวชโดยให้พระมารดาว่าราขการแทนพระองค์ ทั้งนี้เพื่อศึกษาปฏิบัติ[[พระธรรมวินัย]] ต่อมาเมื่อพระมารดาสิ้นพระชนม์ก็ถวายพระเพลิง ณ สถานที่เดียวกันกับพระบิดา แล้วสถาปนาที่นั้นเป็น[[พระอาราม]]ในปี [[พ.ศ. 1994]] โดยทรงขนานนามว่าวัดอโสการามวิหาร ลุถึงปี [[พ.ศ. 1998]] โปรดให้สร้าง[[วัดโพธารามวิหาร]] หรือ[[วัดเจดีย์เจ็ดยอด|วัดเจดีย์เจย์เจ็ดยอด]]
โฟล์คเกย์
]N8gpพระเจ้าติโลกราช เป็นพระมหากษัตริย์นักรบที่ทรงพระปรีชาสามารถได้แผ่ขยายอำนาจของกรุงราชธานีเชียงใหม่ไปทั่ว 57 หัวเมืองขึ้น ครอบคลุมทิศเหนือจรดเมือง[[เชียงรุ่ง]] (จิ่งหง) มณฑลยูนนาน ประเทศจีน เมือง[[เชียงตุง]] [[เมืองยอง]] ([[รัฐฉาน]] ประเทศพม่า) เมืองนาย เมืองไลค่า เมืองเชียงทอง เมืองปั่น เมืองยองห้วย เมืองสุ เมืองจีด เมืองกิง เมืองลอกจอก เมืองสีป้อ เมืองจาง รวมกว่า 11 เมืองทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำสาละวิน (รัฐฉาน พม่า) ทิศตะวันออกตีได้[[อาณาจักรล้านช้าง]] (ประเทศลาว) ทิศใต้จรดขอบแดนอยุธยา แนว ตาก เถิน ศรีสัชนาลัย (สุโขทัย) ลับแล แพร่ น่าน อาณาจักรล้านนาในรัชกาลของพระองค์เป็นยุคทอง รุ่งเรืองสูงสุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งได้รับการรับรองจากคนกลาง "โอรสแห่งสวรรค์"จักรพรรดิ์จีนแห่งราชวงศ์หมิง ซึ่งบันทึกไว้ใน"หมิงสื่อลู่"เป็นเอกสารโบราณประจำรัชกาลที่มีความน่าเชื่อถือมากที่สุดแห่งราชสำนักจักรพรรดิจีน และ ดร.วินัย พงศรีเพียร นักประวัติศาสตร์ผู้เรืองนาม ได้แปลไว้ในเอกสารชื่อ "ปาไป่สีฟู่ ปาไป่ต้าเตี้ยน" (คณะกรรมการสืบค้นประวัติศาสตร์ไทยในเอกสารภาษาจีน สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี จัดพิมพ์ในโอกาสเชียงใหม่มีอายุครบ 700 ปี ใน พ.ศ. 2539) บันทึกว่า จักรพรรดิ์จีนยกย่องให้พระเจ้าติโลกราชเป็น '''"ตาวหล่านนา"'''หรือท้าวล้านนาและพระราชทานเครื่องประกอบเกียรติยศมากมายนอกจากนี้ยังสถาปนาพระเกียรติยศเป็นลำดับ'''"สอง"''' รองจากองค์จักรพรรดิ์จีน ซึ่งตรงกับเอกสารของพม่าที่บันทึกสมัยอยุธยาก่อนกรุงแตกครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2305 ชื่อว่า "Zinme Yazawin (Chronicle of Chiang Mai หรือตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับพม่า) ดังความว่า '''ที่ใดก็ตามที่ปรากฏศัตรูขึ้นในแปดทิศของจักรพรรดิ์อุทิปวาผู้ปกครองทุกสิ่งภายใต้สวรรค์ ให้ท้าวล้านนาเจ้าฟ้าแห่งเมืองเชียงใหม่มีอำนาจที่จะปราบปรามและลงโทษศัตรูนั้นได้...''' ('''Wherever enemies appeae in the eight directions of the Empire of the Utipwa,who Rules All under Heaven ,Thao Lan Na , Chaofa of Chiang Mai with his forecs shall subdue and punish them.''') และทรงให้ราชสมญานามพระเจ้าติโลกราชว่า '''"ราชาผู้พิชิต"''', '''"ราชาแห่งทิศตะวันตก"''' ('''Victorious Monarch''', '''King of the West''') โดยให้เสนาบดีผู้ใหญ่ควบคุมเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตราพระราชลัญจกร พระสุพรรณบัตร เครื่องประกอบเกียรติยศมากมาย ทองคำแท่ง 100 ตำลึง เดินทางมาถึงเชียงใหม่ ทำพิธีอย่างยิ่งใหญ่ อลังการ นอกนั้นพระราชกรณียกิจที่สำคัญพระองค์ทรงเป็นเอกอัครศาสนูปถัมภก จึงทำให้รัชกาลของพระองค์พระพุทธศาสนารุ่งเรืองสูงสุด พระสงฆ์แตกฉานภาษาบาลี มีการตรวจชำระพระไตรปิฎก หรือสังคายนา เป็นครั้งที่ 8 ของโลก ณวัดเจ็ดยอด อ.เมืองเชียงใหม่ ในปี [[พ.ศ. 2020]] ทรงบำเพ็ญพระราชกุศลบวชกุลบุตรเป็นพระภิกษุจำนวน 500 รูปในอุทกสีมาหรืออุปสมบทกลางแม่นำปิงตามอย่างลัทธิลังกาวงค์ [[ในปี พ.ศ. 1990 เมื่อพระราชบิดา พระเจ้าสามฝั่งแกนสวรรคต จึงจัดการพระราชทานเพลิงพระศพแล้วสถาปนาพระสถูปบรรจุพระอัฐิไว้ ณ ป่าแดงหลวง ( อยู่เชิงดอยสุเทพ ในบริเวณ ม.เชียงใหม่) โดยบุทองแดงแล้วปิดทองทั้งองค์ เมื่อเสร็จงานในปีเดียวกันก็ออกผนวชโดยให้พระมารดาว่าราขการแทนพระองค์ ทั้งนี้เพื่อศึกษาปฏิบัติ[[พระธรรมวินัย]] ต่อมาเมื่อพระมารดาสิ้นพระชนม์ก็ถวายพระเพลิง ณ สถานที่เดียวกันกับพระบิดา แล้วสถาปนาที่นั้นเป็น[[พระอาราม]]ในปี [[พ.ศ. 1994]] โดยทรงขนานนามว่าวัดอโสการามวิหาร ลุถึงปี [[พ.ศ. 1998]] โปรดให้สร้าง[[วัดโพธารามวิหาร]] หรือ[[วัดเจดีย์เจ็ดยอด|วัดเจดีย์เจย์เจ็ดยอด]]
 
ตลอด 46 ปีของรัชกาลพระเจ้าติโลกราช มีการทำสงครามขยายพระเดชานุภาพนับได้ หลายครั้ง ดังนี้