ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Doctortum (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
| ชื่อทั่วไป = หลวงพ่อจรัญ
| สมณศักดิ์ = พระธรรมสิงหบุราจารย์
| วันเกิด = [[15 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2471]]
| วันบวช = [[15 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2491]]
| วันตาย = [[25 มกราคม]] [[พ.ศ. 2559]]
| พรรษา = {{age|1948|7|15|2016|1|25}}
| อายุ = {{age|1928|8|15|2016|1|25}}
บรรทัด 17:
| ตำแหน่ง = เจ้าอาวาสวัดอัมพวัน (จ.สิงห์บุรี) <br />ที่ปรึกษา[[เจ้าคณะภาค]] 3
}}
'''พระธรรมสิงหบุราจารย์''' (นามเดิม '''จรัญ ฐิตธมฺโม)จรรยารักษ์''' ฉายา '''{{ฐิ}}ตธมฺโม''' เป็นพระ[[พระภิกษุ]][[ชาวไทย]] ในสังกัดคณะสงฆ์[[มหานิกาย]] อดีตเจ้าอาวาสวัดอัมพวัน [[อำเภอพรหมบุรี]] [[จังหวัดสิงห์บุรี]] และเป็นที่ปรึกษา[[เจ้าคณะภาค]] 3
 
ท่านมีชื่อเสียงในระดับประเทศจากการเป็นพระนักพัฒนา พระ[[นักเทศน์]] และพระวิปัสสนาจารย์ แนวทางการสืบทอดพระพุทธศาสนาของท่านเน้นหนักที่การสั่งสอนเรื่อง[[กฎแห่งกรรม]] โดยยกเหตุการณ์ที่ท่านประสบและนับเป็นกฎแห่งกรรมขึ้นมาเป็นอุทาหรณ์อยู่เสมอ และเน้นการพัฒนาจิตใจคนด้วยการทำฝึก[[วิปัสสนากรรมฐาน]]ด้วยตามหลัก[[สติปัฏฐาน 4]] แบบพองหนอ-ยุบหนอ นอกจากนี้ท่านยังเป็นผู้ที่ส่งเสริมให้พุทธศาสนิกชนหมั่น[[สวดมนต์]]ด้วย[[พระคาถาพาหุง|พุทธชัยมงคลคาถา (พาหุงมหากา)]] เพื่อเป็นเครื่องเจริญสติอย่างแพร่หลายอีกด้วย
'''พระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) ''' เป็น[[พระภิกษุ]][[ชาวไทย]] ในสังกัดคณะสงฆ์[[มหานิกาย]] อดีตเจ้าอาวาสวัดอัมพวัน [[อำเภอพรหมบุรี]] [[จังหวัดสิงห์บุรี]] และเป็นที่ปรึกษา[[เจ้าคณะภาค]] 3
 
ท่านมีชื่อเสียงในระดับประเทศจากการเป็นพระนักพัฒนา พระนักเทศน์ และพระวิปัสสนาจารย์ แนวทางการสืบทอดพระพุทธศาสนาของท่านเน้นหนักที่การสั่งสอนเรื่อง[[กฎแห่งกรรม]] โดยยกเหตุการณ์ที่ท่านประสบและนับเป็นกฎแห่งกรรมขึ้นมาเป็นอุทาหรณ์อยู่เสมอ และเน้นการพัฒนาจิตใจคนด้วยการทำ[[วิปัสสนากรรมฐาน]]ด้วยหลัก[[สติปัฏฐาน 4]] แบบพองหนอ-ยุบหนอ นอกจากนี้ท่านยังเป็นผู้ที่ส่งเสริมให้พุทธศาสนิกชนหมั่น[[สวดมนต์]]ด้วย[[พระคาถาพาหุง|พุทธชัยมงคลคาถา (พาหุงมหากา)]] เพื่อเป็นเครื่องเจริญสติอย่างแพร่หลายอีกด้วย
 
== ประวัติ ==
=== ชาติภูมิ ===
{{โครงส่วน}}
พระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม)เกิดในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 7 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์) มีนามเดิมว่า จรัญ จรรยารักษ์ เกิดเมื่อวัน พุธ ที่ [[15 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2471]] เวลา 07.10 น. ตรงกับแรม 15 ค่ำ เดือน 8 ปีมะโรง ที่บ้านบางม่วงหมู่ ตำบลม่วงหมู่ อำเภอเมือง จังหวัดสิงห์บุรี เป็นบุตรคนที่ 5 ในจำนวนทั้งหมด 11 คนของนายแพ จรรยารักษ์ และนางเจิม (สุขประเสริฐ) จรรยารักษ์
 
=== อุปสมบท ===
{{โครงส่วน}}
พระธรรมสิงหบุราจารย์(จรัญ ฐิตธมฺโม) อุปสมบทเมื่อวันพฤหัสบดี ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2491 เวลา 14.00น. ณ พัทธสีมาวัดพรหมบุรี อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี โดยมีพระพรหมนคราจารย์ (ดี ธมฺปญฺโญ) วัดแจ้งพรหมนคร อำเภอเมือง จังหวัดสิงห์บุรี เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูถาวรวิริยคุณ(กิมเฮง พุทฺธสโร) วัดพุทธาราม อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการช่อ ปภากโร วัดพรหมบุรี อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ท่านได้รับฉายาว่า"ฐิตธมฺโม" (ผู้มีธรรมตั้งมั่นแล้ว)
 
=== การศึกษา ===
หลวงพ่อจรัญได้ธุดงค์ไปตามป่าเขาลำเนาไพรและที่ต่างๆ เพื่อแสวงหาความรู้และประสบการณ์ทั้งทางสมถกรรมฐานและวิปัสสนากรรมฐาน และได้ฝากตัวเป็นศิษย์ศึกษาวิชากับพระอาจารย์หลายท่าน อาทิ ศึกษาคชศาสตร์กับ[[พระครูนิวาสธรรมขันธ์ (เดิม พุทฺธสโร)]] ตำบลหนองโพ อำเภอพยุหคีรี(ในขณะนั้น) ปัจจุบันอยู่ในอำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ ต่อมาเรียนกับ[[พระสุทธิธรรมรังสีคัมภีรเมธาจารย์ (ลี ธมมฺธโร)]] และ[[พระอริยคุณาธาร (เส็ง ปุสฺโส)]] จังหวัดขอนแก่น และได้ศึกษาการทำเครื่องรางของขลัง น้ำมันมนต์ กับ[[หลวงพ่อจง พุทฺธสโร]] วัดหน้าต่าง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และหลวงพ่อสนั่น วัดเสาธงทอง จังหวัดอ่างทอง และ หลวงพ่อจาด วัดบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี และได้ศึกษาสมถกรรมฐานกับ[[พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร)]] ที่[[วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ]] อำเภอภาษีเจริญ จังหวัดธนบุรี ศึกษาและปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานกับ[[พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ)|พระราชสิทธิมุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ)]] วัดมหาธาตุ กรุงเทพฯ และได้ศึกษาพระ[[อภิธรรม]]กับอาจารย์เตชิน (ชาวพม่า) ที่วัดระฆังโฆษิตาราม จังหวัดธนบุรี และศึกษาการพยากรณ์จาก[[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อยู่ ญาโณทโย)]] วัดสระเกศ จังหวัดกรุงเทพฯ และศึกษาแลกเปลี่ยนความรู้วิทยาศาสตร์ทางจิตกับ อาจารย์ พ.อ. ชม สุคันธรัต
 
== แนวทางการทำงานสืบทอดพระพุทธศาสนา ==
 
{{คำพูด|จะใช้หนี้โลกมนุษย์ ด้วยการเผยแพร่พระธรรม คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าจะไม่ขอสร้างวัตถุอีก|พระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธัมโม)}}
 
เส้น 41 ⟶ 39:
* พ.ศ. 2526 ได้รับโล่เกียรติคุณนักสังคมสงเคราะห์ดีเด่นในสาขาสังคมสงเคราะห์อาสาสมัครฝ่ายกิจการพระศาสนา
* พ.ศ. 2528 ได้รับพระราชทานรางวัลจาก[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] ณ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษดิ์ กรุงเทพฯ วันอังคารที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2528 ในฐานะผู้ได้ทำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา ด้านส่งเสริมชักชวนให้มาปฏิบัติธรรมอย่างจริงจัง
* พ.ศ. 2529 ได้รับมอบเข็มเกียรติคุณนักพัฒนาดีเด่นแผ่นดินธรรมแผ่นดินทองจากพลเอก[[เปรม ติณสูลานนท์ ]] นายกรัฐมนตรี ณ ทำเนียบรัฐบาล เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
* พ.ศ. 2558 ได้รับรางวัลเสาอโศกผู้นำศีลธรรม จาก[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ]] ณ ศูนย์ส่งเสริมพระพุทธศาสนาแห่งประเทศไทยในสังฆราชูปถัมภ์ เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2558
* พ.ศ. 2558 ได้รับรางวัลเป็นบุคลที่ทำคุณประโยชน์ ด้านการพัฒนาสังคม และคุณภาพชีวิต จากมูลนิธิอนุสรณ์หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร ในงานประกาศ “รางวัล ๑๐๐ ปี ชาติกาล หม่อมงามจิตต์ บุรฉัตร บุคคลสำคัญของโลก”
 
==ตำแหน่งทางคณะสงฆ์ ==
* พ.ศ. 2499 ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเป็น รักษาการเจ้าอาวาสวัดอัมพวัน อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี
* พ.ศ. 2500 ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเป็น เจ้าอาวาสวัดอัมพวัน อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี
* พ.ศ. 2517 ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเป็น รักษาการ[[เจ้าคณะอำเภอ]]พรหมบุรี
* พ.ศ. 2518 ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเป็น [[เจ้าคณะอำเภอ]]พรหมบุรี
* พ.ศ. 2519 ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเป็น พระ[[อุปัชฌาย์]]
* พ.ศ. 2541 ได้รับพระบัญชาให้ดำรงตำแหน่งเป็น รองเจ้าคณะจังหวัดสิงห์บุรี
* พ.ศ. 2542 ได้รับพระบัญชาให้ดำรงตำแหน่งเป็น เจ้าคณะจังหวัดสิงห์บุรี
* พ.ศ. 2552 ได้รับพระบัญชาให้ดำรงตำแหน่งเป็น ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสิงห์บุรี<ref>มหาเถรสมาคม, [http://www.mahathera.org/detail.php?module=mati&id=255201010401&title=10 เสนอแต่งตั้ง พระธรรมสิงหบุราจารย์ วัดอัมพวัน จังหวัดสิงห์บุรี ให้เป็นที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสิงห์บุรี]</ref>
เส้น 57 ⟶ 55:
 
==สมณศักดิ์ ==
* พ.ศ. 2501 ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงฐานานุศักดิ์ที่ ''พระครูปลัดจรัญ ฐิตธมฺโม'' [[ฐานานุกรม]]ใน[[พระราชาคณะ]]ชั้นสามัญ จากพระสุนทรธรรมประพุทธ (หล้า สีลวํโส) [[เจ้าคณะจังหวัด]][[ร้อยเอ็ด]] ให้ดำรงตำแหน่ง[[ฐานานุกรม]]ที่ ''พระครูปลัด''
* พ.ศ. 2511 ได้รับพระราชทานตั้งสมณศักดิ์ เป็น[[พระครูสัญญาบัตร]]ชั้นตรี ในราชทินนามที่ ฝ่ายวิปัสสนาธุระ ''พระครูภาวนาวิสุทธิ์''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2511/D/122/1.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์], เล่ม 85, ตอน 122 ง ฉบับพิเศษ, 31 ธันวาคม พ.ศ. 2511, หน้า 20</ref>
* พ.ศ. 2516 ได้รับพระราชทานเลื่อน[[สมณศักดิ์]]เป็น[[พระครูสัญญาบัตร]] เทียบ[[พระครูสัญญาบัตร]]ผู้ช่วยพระอารามหลวงชั้นเอก ฝ่ายวิปัสสนาธุระ ในราชทินนามเดิมที่ ''พระครูภาวนาวิสุทธิ์''
* พ.ศ. 2525 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะอำเภอชั้นเอก ฝ่ายวิปัสสนาธุระ ในราชทินนามเดิมที่ ''พระครูภาวนาวิสุทธิ์''
* พ.ศ. 2531 ได้รับพระราชทานตั้งสมณศักดิ์เป็น[[พระราชาคณะ]]ชั้นสามัญยก ในราชทินนามที่ ''พระภาวนาวิสุทธิคุณ''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2531/D/207/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์], เล่ม 105, ตอน 207 ฉบับพิเศษ, 9 ธันวาคม พ.ศ. 2531, หน้า 5 </ref>
* พ.ศ. 2535 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็น[[พระราชาคณะชั้นราช]]ที่ ''พระราชสุทธิญาณมงคล ศรีพหลนราทร ธรรมิกคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2535/D/101/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์], เล่ม 109, ตอน 101 ฉบับพิเศษ, 12 สิงหาคม พ.ศ. 2535, หน้า 8 </ref>
* พ.ศ. 2544 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็น[[พระราชาคณะชั้นเทพ]]ที่ ''พระเทพสิงหบุราจารย์ ภาวนาวิธานโกศล วิมลธรรมานุสิฐ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00040366.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์], เล่ม 118, ตอน 24 ข ฉบับทะเบียนฐานันดร, 7 ธันวาคม พ.ศ. 2544, หน้า 25 </ref>
* พ.ศ. 2547 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็น[[พระราชาคณะชั้นธรรม]]ที่ ''พระธรรมสิงหบุราจารย์ ภาวนาปฏิภาณโกศล โสภณธรรมานุสิฐ พิพัฒน์กิจสุนทร มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/0B/00146819.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์], เล่ม 121, ตอน 17 ข ฉบับทะเบียนฐานันดร, 15 กันยายน พ.ศ. 2547, หน้า 4 </ref>
เส้น 90 ⟶ 88:
รายงานอาพาธฉบับที่ 8 วันที่ 25 มกราคม 2559 ตามที่พระธรรมสิงหบุราจารย์ (หลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม) วัดอัมพวันจ.สิงห์บุรี เข้ารับการรักษาอาการอาพาธในโรงพยาบาลศิริราช ตั้งแต่วันที่ 20 ธันวาคม 2558 ด้วยอาการหอบเหนื่อยจากโรคปอดอักเสบโดยคณะแพทย์ได้ถวายการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะและออกซิเจนนั้น
ต่อมาโรครุนแรงขึ้น แพทย์ได้ถวายการช่วยหายใจและถวายการรักษาประคับประคองระบบการหายใจและหลอดเลือดด้วยเครื่องพยุงการทำงานของหัวใจและปอด ถวายการรักษาทดแทนไต ระยะหลังอาการทรุดลง เริ่มมีเลือดออกผิดปกติจนต้องมีการถวายเลือดและเกล็ดเลือด จนในสุดท้ายการทำงานของอวัยวะต่างๆล้มเหลวไม่สามารถถวายการรักษาประคับประคองได้ต่อไป พระธรรมสิงหบุราจารย์ (หลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม) ถึงแก่มรณภาพอย่างสงบ ในวันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา 8.37 น.
 
 
== อ้างอิง ==