ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนประทาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kaoukkrit (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Kaoukkrit (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 218:
}}
 
'''โรงเรียนประทาย''' ({{lang-en|Prathai School}}) (บ้างเรียก '''โรงเรียนดงเค็ง''') เป็น[[โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ]] เป็นโรงเรียนรัฐบาลประจำ[[อำเภอประทาย]] [[จังหวัดนครราชสีมา]] เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 31 สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา กระทรวงมหาดไทย โรงเรียนประทายแบ่งออกเป็น ได้เจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว2 เพราะได้รับความสนใจและสนับสนุนจากประชาชนในท้องถิ่น และใกล้เคียงเป็นอย่างดียิ่งส่วน โดยการส่งบุตรหลานเข้าเรียนเป็นจำนวนมาก และได้ให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนโรงเรียนทั้งทางด้านทุนทรัพย์และคำแนะนำในการพัฒนาโรงเรียนและด้านต่างๆฝั่งทิศตะวันตก มีเนื้อที่ 44 ไร่ 1 งาน 18 ตารางวา โดยโรงเรียนได้จัดการศึกษาและกิจกรรมทางการศึกษาจนเป็นที่ยอมรับของสังคมฝั่งทิศตะวันออก ซึ่งได้รับการพัฒนาด้วยความเอาใส่มีเนื้อที่ ทุ่มเท20 เสียสละจากผู้บริหารไร่ บุคลากรของโรงเรียนตลอดจนนักเรียน1 งาน และสังคมตลอดมา
 
== ประวัติโรงเรียนประทาย ==
 
'''โรงเรียนประทาย''' เป็นโรงเรียนรัฐบาลแห่งแรกใน[[อำเภอประทาย]] [[จังหวัดนครราชสีมา]] ได้รับการอนุมัติให้จัดตั้งขึ้นตามประกาศของ[[กระทรวงศึกษาธิการ เปิดทำการสอน(ประเทศไทย)|กระทรวงศึกษาธิการ]] เมื่อ วันที่ 7 เมษายน พุทธศักราช 2514 บนเนื้อที่ 64 ไร่ 2 งาน 18 ตารางวา ให้เปิดทำการสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น(ช่วงชั้นที่ 3) แบบสหศึกษา ผู้บริหารคนแรก ชื่อ นายจารุ โรจนรังสิมันต์ ดำรงตำแหน่งครูใหญ่โรงเรียนประทาย และได้รับอนุมัติจากกระทรวงศึกษาธิการ ให้เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย(ช่วงชั้นที่ 4) ในปีพุทธศักราช 2521
 
โรงเรียนประทาย ได้เจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว เพราะได้รับความสนใจและสนับสนุนจากประชาชนในท้องถิ่น และใกล้เคียงเป็นอย่างดียิ่ง โดยการส่งบุตรหลานเข้าเรียนเป็นจำนวนมาก และได้ให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนโรงเรียนทั้งทางด้านทุนทรัพย์และคำแนะนำในการพัฒนาโรงเรียนและด้านต่างๆ และในปี พุทธศักราช 2550 โรงเรียนประทาย ได้รับการถ่ายโอนไปสังกัดยัง องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา กระทรวงมหาดไทย
 
ในช่วงแรกเปิดทำการสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ช่วงชั้นที่ 3) แบบสหศึกษา โดยมีผู้บริหารคนแรก คือ '''นายจารุ โรจนรังสิมันต์''' ดำรงตำแหน่งครูใหญ่ โรงเรียนประทายได้เจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของอาคาร สถานที่ และจำนวนนักเรียน จึงได้รับอนุมัติจากกระทรวงศึกษาธิการ ให้เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ช่วงชั้นที่ 4) ในปีพุทธศักราช 2521
 
โรงเรียนประทาย ได้เจริญเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว เพราะได้รับความสนใจและสนับสนุนจากประชาชนในท้องถิ่น และใกล้เคียงเป็นอย่างดียิ่ง โดยการส่งบุตรหลานเข้าเรียนเป็นจำนวนมาก และได้ให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนโรงเรียนทั้งทางด้านทุนทรัพย์และคำแนะนำในการพัฒนาโรงเรียนและด้านต่างๆ และในปี พุทธศักราช 2550 โรงเรียนประทาย ได้รับการถ่ายโอนไปสังกัดยัง องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา กรมการปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย
== สัญลักษณ์ประจำโรงเรียนประทาย ==
 
* '''ตราประจำโรงเรียน''' เป็นรูปป้อมปราการครอบด้วยเสมา หมายถึง "ประทายเจริญได้ด้วยการศึกษา" (ประทาย แปลว่า ป้อมปราการ<ref>[[อำเภอประทาย]]</ref>)
 
* '''คติธรรมประจำโรงเรียน''' "ทนฺโต เสฏฺโฐ มนุสฺเสสุ" แปลว่า ในหมู่มนุษย์ ผู้ฝึกดีแล้ว เป็นผู้ประเสริฐ
 
*'''ปรัชญาประจำโรงเรียน''' สุขภาพสมบูรณ์ เพิ่มพูนความรู้ เชิดชูคุณธรรม
บรรทัด 237:
* '''แสด - ดำ''' คือสีประจำโรงเรียน ที่มีความหมายถึง ความกล้าหาญ ความอดทน นำมาซึ่งความยิ่งใหญ่ชั่วนิจนิรันดร์
* {{color box|#FF6600}} [[สีแสด]] เป็นสีประจำ[[จังหวัดนครราชสีมา]] แสดงถึงความกล้าหาญ
* {{color box|black}} [[สีดำ]] เป็นสีของป้อมพระกาฬและสีของลูกนางดำ(ผลหมากเค็ง (นางดำ) ซึ่งเป็นต้นไม้ที่เป็นชื่อชุมชนที่โรงเรียนตั้งอยู่ (ชุมชนหัวดงเค็ง) แสดงถึงความอดทน และความยิ่งใหญ่
 
* '''ต้นไม้ประจำโรงเรียน''' ต้นหมากเค็ง (นางดำ) หมายถึง ความเข้มแข็ง ความอดทนต่ออุปสรรคต่างๆ