ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MSU11 (คุย | ส่วนร่วม)
งาน
MSU11 (คุย | ส่วนร่วม)
Music
บรรทัด 125:
 
== ด้านการจัดการเรียนการสอน ==
*วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มีระบบและกลไกในการพัฒนาและบริหารหลักสูตรที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์และพันธกิจของวิทยาลัย มีการกำหนดคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ไว้อย่างชัดเจน มีหลักสูตรที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ ทุกระดับการศึกษา มีการออกแบบการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญทุกหลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรเตรียมอุดมดนตรี หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มีการสนับสนุนการใช้ระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีการศึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนและการบริหารการศึกษา มีระบบการนาข้อมูลย้อนกลับมาพัฒนาการจัดการเรียนการสอนอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง และมีโครงการพัฒนาบุคลากรและนิสิตที่ครอบคลุมเป้าประสงค์ในการผลิตบัณฑิตทางด้านดนตรี สนับสนุนงบประมาณในการผลิตเอกสาร ตำรา แก่คณาจารย์ทุกระดับวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มีระบบกลไกในการส่งเสริมและพัฒนานิสิตนักศึกษาตามศักยภาพให้ครอบคลุมทุกด้าน โดยจัดสวัสดิการและสิ่งอานวยความสะดวกที่เอื้อต่อการพัฒนาการเรียนรู้ของนิสิตมีแนวทางส่งเสริมการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของสถาบันและคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา มีการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานิสิตที่จัดโดยสโมสรนิสิต สาขาวิชา มีการส่งเสริมให้นิสิตสามารถดาเนินชีวิตอย่างมีความสุข มีแนวทางในการดูแล ติดตามนิสิต เพื่อให้ตระหนักในการปฏิบัติตามคุณธรรม จริยธรรม และวินัยนิสิต โดยเน้นให้ตระหนักถึงความสำคัญของวิชาชีพต่อการดารงชีวิตในระหว่างการเป็นนิสิตและสังคมในอนาคต มีการส่งเสริมและสนับสนุนทรัพยากร สิ่งอานวยความสะดวก รวมทั้งบุคลากรในการดาเนินการเพื่อบูรณนาการเรียนการสอนเข้ากับพันธกิจด้านอื่นๆ ของวิทยาลัยมีการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพนิสิตตามนโยบายของ[[มหาวิทยาลัย]] และ[[กระทรวงศึกษาธิการ]][[ไฟล์:

===อันดับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม_วิทยาเขตขามเรียง.jpg|link=https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%8C:%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%A1_%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%95%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87.jpg|alt=อาคารแปดเหลี่ยม ตึก C อาคารเรียนวิทยาดุริยางคศิลป์|thumb|250x250px|อาคารแปดเหลี่ยม ตึก C วิทยาดุริยางคศิลป์]]=
{{ดูเพิ่มที่|อันดับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย|อันดับสถาบันอุดมศึกษาโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา|}}
*นอกจาก[[อันดับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย|การจัดอันดับมหาวิทยาลัย]]โดยหน่วยงานในประเทศไทยแล้ว ยังมีหน่วยงานจัดอันดับมหาวิทยาลัยจากต่างประเทศอีกหลายหน่วยงาน ซึ่งแต่ละหน่วยงานมีเกณฑ์การจัดอันดับและการให้คะแนนที่แตกต่างกัน ได้แก่
====การจัดอันดับโดย Webometrics====
*การจัดอันดับมหาวิทยาลัยของเว็บโอเมตริกซ์ ประจำปี พ.ศ. 2559 จัดทำขึ้นเพื่อแสดงความตั้งใจของสถาบันต่าง ๆ ในการเผยแพร่ความรู้สู่เว็บ และเป็นความริเริ่มเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงความรู้อย่างเปิดกว้าง (Open Access) ทั่วโลก อันดับ Webometrics จะบอกถึงปริมาณและคุณภาพของสิ่งตีพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ในเว็บไซต์ของสถาบัน โดยพิจารณาจากจำนวน Link ที่เชื่อมโยงเข้าสู่เว็บนั้นๆจากเว็บภายนอกโดยวัดจากการสืบค้นด้วยSearch Engine และนับจำนวนเอกสารตีพิมพ์ออนไลน์ในกลุ่มของไฟล์ .pdf .ps .ppt และ .doc และจำนวนเอกสารที่มีการอ้างอิง (Citation) แบบออนไลน์ผ่านกูเกิลสกอลาร์ (Google Scholar) โดยจะจัดอันดับปีละ 2 ครั้ง ได้แก่ เดือนมกราคม และ เดือนกรกฎาคม โดยล่าสุดการจัดอันดับรอบที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัยมหาสารคามได้รับการจัดอันดับให้เป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 12 ของประเทศไทย อันดับที่ 25 ของภูมิภาคอาเซียน อันดับที่ 279 ของเอเชีย และอยู่ในอันดับที่ 1156 ของโลก<ref>{{cite web|title=Ranking Web of Universities|author=Webometrics|date=2016|accessdate=1 มีนาคม 2559|url=http://www.webometrics.info/en/Asia_Pacifico/South%20East%20Asia}}</ref>
 
====การจัดอันดับโดย SCImago Institutions Ranking====
*อันดับมหาวิทยาลัยโดย SCImago Institutions Ranking หรือ SIR ซึ่งเป็นการจัดอันดับสถาบันที่มีผลงานวิจัยในระดับนานาชาติ ในปี พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยมหาสารคามได้รับการจัดให้อยู่ในอันดับที่ 2863 ของโลก อันดับที่ 767 ของทวีปเอเชีย และเป็นอันดับ 15 ของประเทศไทย<ref>{{cite web|url=http://www.scimagoir.com/research.php?country=THA|title=Scimago Institutions Ranking|author=SCImago Institutions Ranking|date=2012|accessdate=1 มีนาคม 2559}}</ref>
 
====การจัดอันดับโดย University Ranking by Academic Performance====
*อันดับที่จัดโดย University Ranking by Academic Performance หรือ URAP ปี พ.ศ. 2558 มหาวิทยาลัยมหาสารคามได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 16 ของประเทศไทย และอันดับ 1767 ของโลก ถูกจัดอยู่ในกลุ่ม B โดยมีพื้นฐานทางด้านวิชาการตรงตามกฎเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คุณภาพและปริมาณของบทความตีพิมพ์ทางวิชาการ บทความวิจัย การเผยแพร่ และการอ้างอิง<ref>{{cite web|title=2014-2015 RANKING BY COUNTRY|url=http://www.urapcenter.org/2014/country.php?ccode=TH&rank=all|author=University Ranking by Academic Performance|date=2015|accessdate=1 มีนาคม 2559}}</ref>
 
[[ไฟล์:มหาวิทยาลัยมหาสารคาม_วิทยาเขตขามเรียง.jpg|link=https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%A5%E0%B9%8C:%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%A1_%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%95%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87.jpg|alt=อาคารแปดเหลี่ยม ตึก C อาคารเรียนวิทยาดุริยางคศิลป์|thumb|250x250px|อาคารแปดเหลี่ยม ตึก C วิทยาดุริยางคศิลป์]]
== ด้านการิจัย ==
*วิทยาลัยดุริยางคศิลป์มีการส่งเสริม และพิจารณาแนวทางในการพัฒนาบุคลากรด้านการวิจัย มีการจัดสรรงบประมาณในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านการวิจัย มีระบบประกันคุณภาพงานวิจัยที่เข้มแข็ง มีระบบควบคุมจริยธรรมในการทาวิจัย โดยวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ได้มีการส่งเสริมและสนับสนุนให้คณาจารย์ ซึ่งยังมีประสบการณ์ในการวิจัยน้อย ได้เข้าร่วมอบรมเพื่อพัฒนาทักษะความรู้ด้านการวิจัยอย่างต่อเนื่อง มีความร่วมมือด้านการวิจัยกับหน่วยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
เส้น 234 ⟶ 248:
หลักสูตรระดับปริญญาโท แบ่งเป็น 2 แผน คือ แผน ก และแผน ข ดังนี้
 
* แผน ก แบบ ก 1 หมายถึง การเรียนที่มีเพียงการทำวิทยานิพนธ์อย่างเดียว มีหน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต และจะต้องทำกิจกรรมทางวิชาการตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับ อาจมีการเรียนกระบวนวิชาเพิ่มเติมได้โดยไม่นับหน่วยกิตสะสม
- แผน ก แบบ ก 1
หมายถึง การเรียนที่มีเพียงการทำวิทยานิพนธ์อย่างเดียว มีหน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต และจะต้องทำกิจกรรมทางวิชาการตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับ อาจมีการเรียนกระบวนวิชาเพิ่มเติมได้โดยไม่นับหน่วยกิตสะสม
 
* แผน ก แบบ ก 2 หมายถึง การเรียนที่เป็นลักษณะของการศึกษากระบวนวิชาระดับบัณฑิตศึกษาไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และทำวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต หน่วยกิตสะสมเป็นไปตามโครงสร้างหลักสูตรของสาขาวิชา
- แผน ก แบบ ก 2
หมายถึง การเรียนที่เป็นลักษณะของการศึกษากระบวนวิชาระดับบัณฑิตศึกษาไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และทำวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต หน่วยกิตสะสมเป็นไปตามโครงสร้างหลักสูตรของสาขาวิชา
 
* แผน ข หมายถึง การศึกษากระบวนวิชาระดับบัณฑิตศึกษา และทำการค้นคว้าแบบอิสระไม่น้อยกว่า 3-6 หน่วยกิต
- แผน ข
หมายถึง การศึกษากระบวนวิชาระดับบัณฑิตศึกษา และทำการค้นคว้าแบบอิสระไม่น้อยกว่า 3-6 หน่วยกิต
 
มีการสอบคัดเลือกผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาโทในสาขาวิชาต่าง ๆ ทั้งภาคปกติ และภาคพิเศษ โดยทางมหาวิทยาลัยจะดำเนินการจัดสอบเอง
เส้น 248 ⟶ 259:
หลักสูตรระดับปริญญาเอก แบ่งเป็น 2 แบบ คือ
 
* แบบ 1 เป็นการศึกษาที่เน้นการวิจัย ที่ก่อให้เกิดความรู้ใหม่ แยกเป็น
แบบ 1.1 สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ทำวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต
แบบ 1.2 สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี (เกียรตินิยม) ทำวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 72 หน่วยกิต
 
* แบบ 2 เป็นการศึกษาที่เน้นการวิจัย โดยมีการทำวิทยานิพนธ์ที่มีคุณภาพสูง และก่อให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการ และวิชาชีพ และศึกษากระบวนวิชาเพิ่มเติม แยกเป็น
แบบ 2.1 สำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท ทำวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต และศึกษากระบวนวิชาระดับบัณฑิตศึกษาไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต
แบบ 2.2 สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ทำวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต และศึกษากระบวนวิชาระดับบัณฑิตศึกษาไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต
เส้น 262 ⟶ 273:
* วงศกรณ์ โยวะราช (ลำเพลิน วงศกร แกรมมี่โกลด์) /นักร้อง/ นิสิตสภาพปัจจุบัน
 
==คณะและวิทยาลัยที่เกี่ยวข้อง==
 
{{col-begin}}
{{col-3}}
=== คณะกลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ ===
* [[คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม|คณะแพทยศาสตร์]]
* คณะพยาบาลศาสตร์
* [[คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม|คณะเภสัชศาสตร์]]
* คณะสาธารณสุขศาสตร์
* [[คณะสัตวแพทยศาสตร์และสัตวศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม|คณะสัตวแพทยศาสตร์]]
* บัณฑิตวิทยาลัย
{{col-3}}
 
=== คณะกลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ===
* [[คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม|คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์]]
* [[คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม|คณะศึกษาศาสตร์]]
* [[คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |คณะการบัญชีและการจัดการ]]
* คณะศิลปกรรมศาสตร์
* [[คณะการท่องเที่ยวและการโรงแรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม|คณะการท่องเที่ยวและการโรงแรม]]
* [[วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม|วิทยาลัยการเมืองการปกครอง]]
* [[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม|วิทยาลัยดุริยางคศิลป์]]
* คณะวัฒนธรรมศาสตร์
* คณะนิติศาสตร์
* สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
{{col-3}}
 
=== คณะกลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ===
* [[คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม|คณะวิทยาศาสตร์]]
* [[คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม|คณะเทคโนโลยี]]
* [[คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม|คณะวิทยาการสารสนเทศ]]
* คณะวิศวกรรมศาสตร์
* [[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม|คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์]]
* คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์
* สถาบันวิจัยวลัยรุกขเวช
|}
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{คณะในมหาวิทยาลัยมหาสารคาม}}
 
[[หมวดหมู่:มหาวิทยาลัยมหาสารคาม|วิทยาลัยดุริยางคศิลป์]]