ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยราชภัฏ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
Peerayut 2553 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 7016105 สร้างโดย JBot (พูดคุย) อ่านแล้วมีเนื้อหาและแหล่งอ้างอิง
บรรทัด 12:
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:ประตูทางเข้าวิทยาลัยครูเชียงใหม่.jpg|300px|thumb|ประตูทางเข้า'''วิทยาลัยครูเชียงใหม่'''ในอดีต (ปัจจุบันคือ [[มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่]])]]
มหาวิทยาลัยราชภัฏมีพัฒนามาจาก "'''โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์'''" โดยโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์แห่งแรกเปิดสอนเมื่อวันที่ [[12 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2435]] ซึ่งตั้งขึ้นบริเวณโรงเลี้ยงเด็ก ตำบลสวนมะลิ [[ถนนบำรุงเมือง]] [[จังหวัดพระนคร]] (ปัจจุบัน คือ [[มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร]]) <ref>[http://www.pnru.ac.th/newmenu.php?bid=19 ประวัติมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร]</ref> หลังจากนั้น จึงได้ขยายไปตั้งอยู่ทุกภูมิภาคของประเทศ โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ได้เปลี่ยนชื่อเป็นเป็น "'''วิทยาลัยครู'''"<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2518/A/174/5.PDF พระราชกฤษฎีกายกฐานะสถาบันฝึกหัดครูเป็นวิทยาลัยครู ตามพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ.ศ. 2518] </ref> ในเวลาต่อมา และในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ [[พ.ศ. 2535]] ได้รับพระราชทานชื่อเป็น "'''สถาบันราชภัฏ'''" และเมื่อปี [[พ.ศ. 2538]] ได้มีพระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ ยกฐานะวิทยาลัยครู ให้เป็น "'''สถาบันราชภัฏ'''" อย่างเป็นทางการ โดยให้สถาบันราชภัฏเป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนา ท้องถิ่น มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทำการวิจัย ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ปรับปรุง ถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยี ทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ผลิตครูและส่งเสริมวิทยฐานะครู<ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2538/A/004/1.PDF พระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ พ.ศ. 2538] </ref> จากนั้นได้มีการพระราชทานชื่อเป็น "'''มหาวิทยาลัยราชภัฏ'''" เมื่อปี [[พ.ศ. 2545]] และในปี [[พ.ศ. 2547]] สถาบันราชภัฏ ได้เปลี่ยนชื่อเป็น "'''มหาวิทยาลัยราชภัฏ'''" อย่างเป็นทางการ ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ <ref> [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/0AA/00141755.PDF พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547] </ref> ดังเช่นปัจจุบัน
 
=== ยุคโรงเรียนฝึกหัด ===
== '''วันราชภัฏ''' ==
มหาวิทยาลัยราชภัฏมีพัฒนามาจาก "'''โรงเรียนฝึกหัด'''" อาทิเช่น โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์, โรงเรียนฝึกหัดครูประจำมณฑล โดยก่อเกิดดังนี้
* ซึ่งโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์แห่งแรกเปิดสอนเมื่อวันที่ [[12 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2435]] ซึ่งตั้งขึ้นบริเวณโรงเลี้ยงเด็ก ตำบลสวนมะลิ [[ถนนบำรุงเมือง]] [[จังหวัดพระนคร]] (ปัจจุบัน คือ [[มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร]]) <ref>[http://www.pnru.ac.th/newmenu.php?bid=19 ประวัติมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร]</ref> หลังจากนั้น จึงได้ขยายไปตั้งอยู่ทุกภูมิภาคของประเทศ
* ต่อมาได้เริ่มจัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูขึ้นใน[[มณฑลนครราชสีมา]] ชื่อ โรงเรียนตัวอย่างประจำมณฑลนครราชสีมา เมื่อราวปี พ.ศ. 2457<ref>http://www.nrru.ac.th/index.php/nrru/general-information.html</ref> ต่อมาก็ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมมณฑลนครราชสีมา” (ปัจจุบัน คือ [[มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา]])
* ในปี [[พ.ศ. 2462]]  ได้จัดตั้ง "โรงเรียนฝึกหัดครูมณฑล" ขึ้น เพื่อผลิตครูที่สอนในระดับประถมศึกษา ผู้สำเร็จการศึกษา เรียกว่า "''ครูประกาศนียบัตรมณฑล''" ต่อมา ในปี [[พ.ศ. 2468]] ธรรมการมณฑลได้จัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูประจำมณฑลขึ้นโดยเฉพาะ เรียกว่า "โรงเรียนฝึกหัดครูมูลประจำมณฑลนครศรีธรรมราช" (ปัจจุบัน คือ [[มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา]])
* และ “โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมมณฑลอุดร” เริ่มก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466 ซึ่งตั้งขึ้นบริเวณสโมสรเสือป่า[[มณฑลอุดร]] อำเภอเมือง [[จังหวัดอุดรธานี]] (ปัจจุบัน คือ [[มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี]])<ref>http://www.udru.ac.th/index.php/about-udru/udru-history.html</ref>
* และ"โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมประจำ[[มณฑลพายัพ]]" เริ่มก่อตั้งเมื่อปี [[พ.ศ. 2466]] ณ บ้านเวียงบัว ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง [[จังหวัดเชียงใหม่]] (ปัจจุบัน คือ [[มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่]])<ref>http://www.cmru.ac.th/web51/history.php</ref>
หลักจากมีการยกเลิกการปกครองแบบมณฑลแล้ว ทำให้โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมประจำมณฑล จึงเปลี่ยนชื่อเป็น "โรงเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตร จังหวัด........." และเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "โรงเรียนฝึกหัดครู...(ต่อท้ายด้วยจังหวัดที่ตั้ง)" พร้อมขยายการก่อตั้งโรงเรียนออกไปยังภูมิภาคมากขึ้น
 
=== ยุควิทยาลัยครู ===
ต่อมาเมื่อวันที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศยกฐานะโรงเรียนฝึกหัดครู.... เป็น "'''วิทยาลัยครู'''"  พร้อมกับเปิดสอนในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง (ป.กศ. สูง) และหลักสูตรปริญญาตรีของสภาการฝึกหัดครู โดยกำหนดในพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ.ศ 2518 ตั้งแต่เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2503 เป็นต้นมา
 
{{คำพูด|ให้วิทยาลัยครูเป็นสถาบันอุดมศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนนักศึกษาถึงระดับปริญญาตรีในสาขาครุศาสตร์ หลักสูตรของสภาการฝึกหัดครู |พระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ.ศ. 2518}}โดยมีวิทยาลัยครู จำนวน 17 แห่ง ได้แก่<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2518/A/174/5.PDF พระราชกฤษฎีกายกฐานะสถาบันฝึกหัดครูเป็นวิทยาลัยครู ตามพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ.ศ. 2518] </ref>
{{บน}}*วิทยาลัยครูจันทรเกษม กรุงเทพมหานคร
*วิทยาลัยครูเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
*วิทยาลัยครูเทพสตรี จังหวัดลพบุรี
*วิทยาลัยครูนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
*วิทยาลัยครูนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช
*วิทยาลัยครูนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์
*วิทยาลัยครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา กรุงเทพมหานคร
*วิทยาลัยครูพระนคร กรุงเทพมหานคร
*วิทยาลัยครูพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา{{กลาง}}*วิทยาลัยครูพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก
*วิทยาลัยครูมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม
*วิทยาลัยครูยะลา จังหวัดยะลา
*วิทยาลัยครูสงขลา จังหวัดสงขลา
*วิทยาลัยครูสวนดุสิต กรุงเทพมหานคร
*วิทยาลัยครูสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร
*วิทยาลัยครูอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี
*วิทยาลัยครูอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี{{ล่าง}}
 
=== ยุคนามพระราชทาน "สถาบันราชภัฏ" ===
ในเวลาต่อมา วันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2538/A/004/1.PDF</ref> [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ “สถาบันราชภัฏ” ให้กับวิทยาลัยครูทั่วประเทศ จึงมีผลทำให้วิทยาลัยครู เปลี่ยนชื่อใหม่เป็น สถาบันราชภัฏตั้งบัดนัน ครั้นต่อมาเมื่อวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2538 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระมหากรุณาธิคุณต่อชาวราชภัฏเป็นล้นพ้นด้วยทรงพระเมตตา ทรงรพระกรุณาโปรดกล้าฯ พระราชทาน[[พระราชลัญจกรประจำรัชกาล|พระราชลัญจกร]]ประจำพระองค์ให้เป็น “'''สัญลักษณ์ประจำสถาบันราชภัฏ'''” นับเป็นมหาสิริมงคลอันควรที่ชาวราชภัฏทั้งมวลจักได้ภาคภูมิใจ และพร้อมใจกันปฏิบัติหน้าที่สนองพระมหากรุณาธิคุณให้เต็มความสามารถในอันที่จะพัฒนาสถาบันราชภัฏให้เป็น สถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนา ท้องถิ่น มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทำการวิจัย ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ปรับปรุง ถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยี ทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ผลิตครูและส่งเสริมวิทยฐานะครู<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2538/A/004/1.PDF พระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ พ.ศ. 2538] </ref> และทำให้สถาบันราชภัฏ เปิดทำการสอนในาขาวิชาอื่นๆ นอกจากสาขาการศึกษาตั้งแต่นั้นมา
 
ต่อมาในระหว่างปีงบประมาณ 2540-2542 สำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ [[กระทรวงศึกษาธิการ]] ได้มีโครงการจัดตั้งสถาบันราชภัฏเพิ่มขึ้นจำนวน 5 แห่งตามโครงการ 1 ใน 5 โครงการสถาบันราชภัฏเพิ่มในระยะแรก โดยได้รับการจัดตั้งขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการและกระจายโอกาสทางการศึกษาของประชากรในระดับภูมิภาค ได้แก่
# [[สถาบันราชภัฏชัยภูมิ]]
# [[สถาบันราชภัฏศรีสะเกษ]]
# [[สถาบันราชภัฏนครพนม]] 
# [[สถาบันราชภัฏกาฬสินธุ์]] 
# [[มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด|สถาบันราชภัฏร้อยเอ็ด]]
 
=== ยุคมหาวิทยาลัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น ===
วันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2547<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/0AA/00141755.PDF</ref> พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระปรมาภิไธย พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2547 ส่งผลให้สถาบันราชภัฏทั่วประเทศ ได้รับการยกฐานะและปรับเปลี่ยนสถานภาพเป็น “'''มหาวิทยาลัยราชภัฏ'''” ตั้งแต่วันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2547 เป็นต้นมา และมีภารกิจและปณิธานตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/0AA/00141755.PDF พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547] </ref>{{คำพูด|มาตรา 7 “ให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นที่เสริมสร้างพลังปัญญาของแผ่นดิน ฟื้นฟูพลังการเรียนรู้ เชิดชูภูมิปัญญาของท้องถิ่น สร้างสรรค์ ศิลปวิทยา เพื่อความเจริญก้าวหน้าอย่างมั่นคงและยั่งยืนของปวงชน มีส่วนร่วมในการจัดการ การบำรุงรักษาการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุล และยั่งยืน โดยมีวัตถุประสงค์ให้การศึกษา ส่งเสริมวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทำการสอน วิจัย ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ปรับปรุง ถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยี ทะนุบำรุง ศิลปะและวัฒนธรรม ผลิตครูและส่งเสริมวิทยฐานะครู”|พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 }}
 
== วันราชภัฏ ==
ทุกวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ของทุกปี เป็น “'''วันราชภัฏ”''' สืบเนื่องจาก '''วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2535 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม สถาบันราชภัฏ แก่วิทยาลัยครูทั่วประเทศ''' '''และได้มีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้อัญเชิญตราพระราชลัญจกรส่วนพระองค์ เป็นตราประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏ นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าล้นกระหม่อมหาที่สุดมิได้ เป็นสิ่งที่นำความภาคภูมิใจสูงสุดมาสู่ชาวมหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ'''ซึ่งชาวมหาวิทยาลัยราชภัฏ ในฐานะสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น สมควรจะเทิดพระมหากรุณาธิคุณนี้ไว้เหนือเกล้าและจงรักภักดีด้วยการตั้งปณิธานที่จะประพฤติ และปฏิบัติหน้าที่เจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาท ในการพัฒนาประเทศและบำบัดทุกข์ บำรุงสุขแก่พี่น้อง ประชาชนชาวไทย ดังนั้น '''วันที่ 14 กุมภาพันธ์ ถือว่าเป็นวันราชภัฏ ซึ่งชาวมหาวิทยาลัย และถือเป็นการสถาปนามหาวิทยาลัยราชภัฏด้วยเช่นกัน “'''
 
เส้น 26 ⟶ 68:
ตราสัญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏ พิจารณาจากดวง[[พระราชลัญจกรประจำรัชกาล|ตราพระราชลัญจกรประจำพระองค์รัชกาลปัจจุบัน]] เพื่อกำหนดรูปแบบสัญลักษณ์มหาวิทยาลัยราชภัฏ และได้รับพระราชทานมาเป็นตราประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วพระราชอาณาจักร ซึ่งมีรายละเอียดที่สมควร นำมากล่าวถึงไว้ ณ ที่นี้คือ
 
#[[ไฟล์:ตราประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏ.png|center|frameless|183x183px]]
* เป็นรูปแบบที่เกี่ยวข้องกับสถาบันพระมหากษัตริย์ ผู้ให้กำเนิดสถาบัน
 
* เป็นรูปแบบที่เป็นกลาง เกี่ยวข้องกับท้องถิ่นที่ตั้ง ธรรมชาติ และความสอดคล้องกับชื่อมหาวิทยาลัยราชภัฏที่ได้รับพระราชทาน
# เป็นรูปแบบที่เกี่ยวข้องกับสถาบันพระมหากษัตริย์ ผู้ให้กำเนิดสถาบัน
* สีของตราประจำมหาวิทยาลัย มี 5 สี โดยมีความหมาย ดังนี้
# เป็นรูปแบบที่เป็นกลาง เกี่ยวข้องกับท้องถิ่นที่ตั้ง ธรรมชาติ และความสอดคล้องกับชื่อมหาวิทยาลัยราชภัฏที่ได้รับพระราชทาน
# สีของตราประจำมหาวิทยาลัย มี 5 สี โดยมีความหมาย ดังนี้
::* <span style="color:navy">██</span> '''สีน้ำเงิน''' แทนค่าสถาบันพระมหากษัตริย์ผู้ให้กำเนิด และพระราชทานนาม “มหาวิทยาลัยราชภัฏ”
::* <span style="color:darkgreen">██</span> '''สีเขียว''' แทนค่าแหล่งที่ตั้งในแหล่งธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สวยงาม
เส้น 36 ⟶ 80:
 
== รายชื่อมหาวิทยาลัยราชภัฏ ==
ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏมีทั้งหมด 38 แห่งโดยแบ่งตามการจัดงานพิธีรับพระราชทานปริญญาบัตรของกลุ่ม ดังนี้<ref>กุมารี วัชชวงษ์ ,[http://news.sanook.com/education/education_39732.php อักษรย่อมหาลัยราชภัฏ ชื่อที่ตั้งไว้แต่ไม่มีคนรู้จัก], หนังสือพิมพ์ข่าวสด, วันพุธที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2549</ref>
 
{{บน}}
=== กลุ่มรัตนโกสินทร์ (กรุงเทพมหานคร) ===
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม]] (มจษ.)
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร]] (มร.พน.)
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี]] (มรธ.)
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา]] (มบส.)
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา]] (มร.สส.)
 
=== กลุ่มภาคกลาง ===
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์จันทรเกษม]] (มรวมจษ.)
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา]] (มรภมร.อยพน.)
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรีธนบุรี]] (มรภทมรธ.)
*[[มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา]] (มบส.)
*[[มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา]] (มร.สส.)
*[[มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์]] (มรว.)
*[[มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา]] (มรภ.อย.)
*[[มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี]] (มรภท.)
*[[มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม]] (มรภน.)
*[[มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ]](มรภ.กจ.)
*[[มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง]] (มร.มจ.)
*[[มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ]](มรภ.พบ.)
*[[มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์]] (มรร.)
*[[มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี]] (มรภ.รพ.)
 
=== กลุ่มตะวันตก(พจนก.)ภาคใต้ ===
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐมสุราษฎร์ธานี]] (มรภนมรส.)
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรีภูเก็ต]] (มรภ.กจ.)
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงนครศรีธรรมราช]] (มร.มจนศ.)
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรีสงขลา]] (มรภ.พบสข.)
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา]] (มรย.)
 
{{กลาง}}
=== กลุ่มภาคตะวันออก ===
=== กลุ่มภาคเหนือ ===
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์]] (มรร.)
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณีเชียงใหม่]] (มรภ.รพชม.)
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย]] (มรภ.ชร.)
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง]] (มรภ.ลป.)
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์]] (มรภอ.)
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม]] (มรภ.พส.)
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร]] (มรภ.กพ.)
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์]] (มรภ.พช.)
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์]] (มรภ.นว.)
 
=== กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ===
เส้น 72 ⟶ 129:
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี]] (มร.อด.)
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร]] (มรภ.สน.)
{{ล่าง}}
 
=== กลุ่มภาคเหนือ ===
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่]] (มรภ.ชม.)
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย]] (มรภ.ชร.)
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง]] (มรภ.ลป.)
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์]] (มรภอ.)
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม]] (มรภ.พส.)
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร]] (มรภ.กพ.)
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์]] (มรภ.พช.)
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์]] (มรภ.นว.)
 
=== กลุ่มภาคใต้ ===
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี]] (มรส.)
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต]] (มรภ.)
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช]] (มร.นศ.)
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา]] (มรภ.สข.)
* [[มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา]] (มรย.)
 
===อดีตมหาวิทยาลัยราชภัฎ===