ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ย่างกุ้ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
| image_skyline = Collage of Yangon.jpg
| imagesize = 250px
| image_caption = <small>ตามเข็มนาฬิกาจากด้านบน: [[เจดีย์ชเวดากอง]], มุมมองทางอากาศของใจกลางเมืองย่างกุ้ง, อาคารยุคอาณานิคมตามถนน, [[ทะเลสาบกันดอจี]], [[เจดีย์สุเล]], ศาลสูงเมืองย่างกุ้ง</small>
| image_flag =
| image_blank_emblem =
บรรทัด 49:
'''ย่างกุ้ง'''<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=118|issue=ตอนพิเศษ 117ง|pages=2|title=ประกาศราชบัณฑิตยสถาน เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง (พ.ศ. 2544)|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2544/E/117/2.PDF|date=26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544|language=ไทย}}</ref> หรือ '''ยานโกน''' ({{lang-my|ရန်ကုန်}}, MLCTS ''rankun mrui'', {{IPA-my|jàɴɡòʊɴ mjo̰|pron}} ''ยานโกน มโย''; "อวสานสงคราม"<ref>สุจิตต์ วงษ์เทศ. ''กรุงเทพฯ มาจากไหน?''. กรุงเทพฯ:มติชน. 2548, หน้า 211</ref>) หรือ '''ร่างกุ้ง''' ({{lang-en|Rangoon}}) เป็นเมืองหลวงของเขตย่างกุ้ง ย่างกุ้งเป็นเมืองหลวงของพม่าจนถึงปี พ.ศ. 2549 เมื่อรัฐบาลทหารย้ายเมืองหลวงไปยังเมือง[[เนปยีดอ]]ในภาคกลางของประเทศพม่า ย่างกุ้งเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศมีประชากรกว่า 7 ล้านคน และเป็นศูนย์กลางการค้าที่สำคัญที่สุดของพม่า<ref>{{Cite news| url =http://news.bbc.co.uk/2/hi/asia-pacific/4848408.stm | title =Burma's new capital stages parade |publisher=BBC News | date =27 March 2006 | accessdate =3 August 2006}}</ref>
 
ย่างกุ้งมีจำนวนอาคารยุคอาณานิคมมากที่สุดในภูมิภาคนี้<ref name="bygone">{{Cite news|last=Martin |first=Steven |date=30 March 2004 |url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/asia-pacific/3578993.stm |title=Burma maintains bygone buildings |publisher=BBC News |accessdate=22 May 2006}}</ref> และเป็นเมืองในยุคอาณานิคมที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว<ref>{{cite news|title=As Myanmar Modernizes, Architectural Gems Are Endangered|url=http://www.npr.org/sections/parallels/2014/06/04/299058830/as-myanmar-modernizes-architectural-gems-are-endangered|accessdate=8 April 2017|agency=National Public Radio|date=June 4, 2014}}</ref> เศรษฐกิจยุคอาณานิคมมีศูนย์กลางบริเวณรอบเจดีย์สุเลซึ่งขึ้นชื่อว่าเก่าแก่กว่า 2,000 ปี<ref>{{cite book|last1=De Thabrew|first1=W. Vivian|title=Buddhist Monuments And Temples Of Myanmar And Thailand|date=11 March 2014|publisher=AuthorHouse|isbn=9781491896228|url=https://books.google.com/books?id=qGg6AwAAQBAJ&pg=PA12&dq=sule+pagoda&hl=en&sa=X&ved=0ahUKEwjMlciZ2JPTAhXE6oMKHeTgClwQ6AEILzAD#v=onepage&q=sule%20pagoda&f=false|accessdate=8 April 2017}}</ref> เมืองนี้ยังเป็นที่ตั้งของ[[เจดีย์ชเวดากอง]] ซึ่งเป็นเจดีย์ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดในพม่า ย่างกุ้งยังเป็นที่ตั้งสุสานของจักรพรรดิโมกุลองค์สุดท้าย ซึ่งถูกอังกฤษเนรเทศมายังย่างกุ้งหลังการจลาจลของอินเดียในปี ค. ศ. 1857
 
ย่างกุ้งมีโครงสร้างพื้นฐานไม่เพียงพอเมื่อเทียบกับเมืองใหญ่อื่น ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แม้ว่าจะมีการปรับปรุงอาคารที่อยู่อาศัยและอาคารเชิงพาณิชย์เก่าแก่หลายแห่งในใจกลางเมืองย่างกุ้ง แต่มุมมองจากดาวเทียมบริเวณโดยรอบส่วนใหญ่ของเมือง ยังมีความยากจนและขาดโครงสร้างขั้นพื้นฐาน<ref>{{cite web|title=Rapid migration and lack of cheap housing fuels Yangon slum growth|url=http://www.myanmar-now.org/news/i/?id=15af2551-98ae-4b69-bc63-9091702da2fa|website=Myanmar Now|accessdate=8 April 2017|date=2016-02-27}}</ref>
บรรทัด 60:
==ประวัติศาสตร์==
===ประวัติศาสตร์ยุคเริ่มแรก===
ย่างกุ้งก่อตั้งขึ้นในชื่อ ดากอน (Dagon) ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 16 (พ.ศ. 1571-1586) โดยชาวมอญซึ่งครอบครองพื้นที่ภาคใต้ส่วนใหญ่ในภาคใต้ของพม่าในขณะนั้น<ref>Founded during the reign of King Pontarika, per {{cite book | title=Legendary History of Burma and Arakan | year=1882 | author=Charles James Forbes Smith-Forbes | publisher=The Government Press | page=20}}; the king's reign was 1028 to 1043 per {{cite book | last = Harvey| first = G. E.| title = History of Burma: From the Earliest Times to 10 March 1824 | publisher=Frank Cass & Co. Ltd | year = 1925| location = London | page=368}}</ref> ดากอนเป็นหมู่บ้านชาวประมงเล็กๆ ซึ่งมีศูนย์กลางคือเจดีย์ชเวดากอง ในพ.ศ. 2298 พระเจ้าอลองพญา ได้บุกยึดดากอน พร้อมกับเปลี่ยนชื่อเมืองเป็น ย่างกุ้ง (Yangon) และมีการตั้งถิ่นฐานของราษฎรที่เพิ่มขึ้นตลอดมา เมื่อถึงพ.ศ. 2367 กองทัพอังกฤษสามารถยึดเมืองย่างกุ้งได้ในสงครามอังกฤษ-พม่าครั้งแรก แต่หลังจากสงคราม อังกฤษก็คืนย่างกุ้งให้แก่พม่า ในพ.ศ. 2384 เกิดเพลิงไหม้ใหญ่ในเมืองซึ่งทำลายเมืองไปเกือบทั้งหมด<ref name=mcy>{{Cite book| title=Megacity yangon: transformation processes and modern developments | author=Kyaw Kyaw | isbn=3-8258-0042-3 | editor=Frauke Krass, Hartmut Gaese, Mi Mi Kyi | pages=333–334 | publisher=Lit Verlag | location=Berlin | year=2006}}</ref>
 
===ย่างกุ้งในยุคอาณานิคม===