ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราชวงศ์หยวน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Shoshui (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 101:
{{ดูเพิ่ม|อี้จิง|อาณัติแห่งสวรรค์}}
 
ก่อนหน้านี้ชาวมองโกลมีจักรวรรดิของตนที่ชื่อ ('''อิค มองกูล อูลุส''') ('''Ikh Mongol Uls''') (''ikh'': ยิ่งใหญ่, ''uls'': รัฐ, ประเทศ; รัฐมองโกลอันยิ่งใหญ่)<ref>Sanders. p. 300.</ref> หรือ [[จักรวรรดิมองโกล]] ที่ยังไม่ได้ครอบครองดินแดนจีนของ[[ราชวงศ์ซ่ง]] จนในรัชสมัยของ[[มองเกอ ข่าน]] (ค.ศ. 1251– 1259) พระเชษฐาของกุบไลข่าน นำกองทัพบุกดินแดนจีนตอนล่างของราชวงศ์ซ่งและประกาศ[[อาณัติแห่งสวรรค์]] มองเกอ ข่านได้รับเอาอิทธิพลจาก[[วัฒนธรรมจีน]] มาใช้และตั้งชื่อเรียกจักรวรรดิว่า "จีน" ({{linktext|中}}{{linktext|國}}, ''จงกั๋ว''; ที่แปลว่า "อาณาจักรศูนย์กลางของโลก") ถือว่าเป็นอาณาจักรที่เป็นศูนย์กลางของโลกและจักรวาล เป็นศูนย์กลางของวัฒนธรรม ตรงกับภาษามองโกล คำว่า ''ดุมต้าตู อูลุส'' (''Dumdadu ulus'') [[Fileไฟล์:China in Mongolian.svg|30px]] มองเกอ ข่านได้พยายามประกาศใช้[[ภาษาจีน]]เป็นภาษากลางในการติดต่อสื่อสารในดินแดนที่ยึดได้ และเรียกราษฎรในจักรวรรดิว่า '''ชาวจีน''' (中國人 ''จงกั๋ว จื้อ เริน''; ภาษามองโกล: ''ดุมต้าตูชูต'') เพื่อความเป็นเอกภาพและหนึ่งเดียว ซึ่งทำให้ดินแดนที่อยู่ใต้อาณัติของมองโกลไม่พอใจและทำให้จักรวรรดิแตกแยกในเวลาต่อมา
 
ในปี ค.ศ. 1271 (พ.ศ. 1814) [[กุบไลข่าน]]ได้ประกาศตั้งชื่อจักรวรรดิใหม่ว่า '''ต้าหยวน''' ({{zh |c = 大元 |p = Dà Yuán |w = Ta-Yüan}}) หรือ '''ราชวงศ์หยวน'''<ref name="CivilSociety">"Civil Society in China: The Legal Framework from Ancient Times to the 'New Reform Era'", p39, note 69.</ref> "ต้าหยวน" (大元) มาจากประโยคหนึ่งของจีนที่ว่า "{{lang|zh|大哉乾元}}" (ดา ไจ๋ เคี้ยงหยวน / "เคี้ยงนั้นยิ่งใหญ่, เป็นปฐม") ใน ซึ่งคำว่า "[[เคี้ยง (แฉก)|เคี้ยง]]" ({{linktext|乾}}) เป็นแฉกแรกของศาสตร์[[อี้จิง]]<ref>{{cite book |title = [[Ten Wings|Commentaries]] on the [[I Ching|Classic of Changes]] (《易傳》) |chapter = 《易·乾·彖傳》 |quote = 《彖》曰:大哉乾元,萬物資始,乃統天。}}</ref><ref name="Proclamation">{{citation |author = [[Kublai Khan]] |date = December 18, 1271 |title = 《[[s:zh:建國號詔|建國號詔]]》}} (collected in the ''Statutes of the Yuan'' (《元典章》))</ref> ตรงกับ[[ภาษามองโกล]]ที่ว่า ''ได ออน อูลุส'' (''Dai Ön Ulus'') นอกจากนี้คำว่า ''อิค หยวน อูลุส'' (''Ikh Yuan Üls'') หรือ ''เยเคอ หยวน อูลุส'' (''Yekhe Yuan Ulus'') ในภาษามองโกลคำว่า ''ไดออน'' (''Dai Ön'') เป็นคำทับศัพท์[[ภาษาจีน]]คำว่า ต้าหยวน มักจะใช้ร่วมกับคำว่า "เยเคอ มองกูล อูลุส" ("Yeke Mongghul Ulus") (ที่แปลว่า "รัฐมองโกลอันยิ่งใหญ่") บางครั้งมีการประสมเป็นคำว่า ''ได ออน เยเคอ มองกูล อุลุส'' (''Dai Ön Yeke Mongghul Ulus'')<ref name="mname">"The Early Mongols: Language, Culture and History" by Volker Rybatzki & Igor de Rachewiltz, p116</ref> ([[อักษรมองโกล]]: [[Fileไฟล์:Dai Ön Yeke Mongghul Ulus.PNG|80px]]), แปลว่า "รัฐหยวนมองโกลอันยิ่งใหญ่"<ref>{{cite web |url = http://www.thefamouspeople.com/profiles/kublai-khan-4344.php |title = Kublai Khan Biography - Childhood, Life Achievements & Timeline |website = Thefamouspeople.com |date = |accessdate = 2016-05-27}}</ref>
 
ราชวงศ์หยวนเป็นที่รู้จักของชาวตะวันตกในฐานะ "ราชวงศ์มองโกล"<ref>Asian Nationalism, by Michael Leifer, Professor of International Relations Michael Leifer, p23</ref> หรือ "ราชวงศ์มองโกลแห่งประเทศจีน",<ref>A Military History of Japan: From the Age of the Samurai to the 21st Century: From the Age of the Samurai to the 21st Century, John T. Kuehn Ph.D., p61</ref> เหมือน'''ราชวงศ์แมนจู'''<ref>Voyages in World History, by Valerie Hansen, Ken Curtis, p53</ref> หรือ "ราชวงศ์แมนจูแห่งประเทศจีน"<ref>The Military Engineer, Volume 40, p580</ref> ที่เป็นที่รู้จักกันในชื่อ [[ราชวงศ์ชิง]]