ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไปรษณีย์ไทย (บริษัท)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Onnutbpc (คุย | ส่วนร่วม)
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10:
| location_country = [[ไทย]]
| area_served = [[ประเทศไทย]]
| key_people = พลเอกสาธิต พิธรัตน์ <br> (ประธานกรรมการ)
| key_people = สมร เทิดธรรมพิบูล <br> (กรรมการผู้จัดการใหญ่)
| industry = ขนส่ง
เส้น 25 ⟶ 24:
}}
 
'''บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด''' (ปณท.) เป็นหน่วยงาน[[รัฐวิสาหกิจ]] รูปแบบบริษัทจำกัด ในสังกัด[[กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม]] ซึ่งรัฐบาลโดยกระทรวงการคลังเป็นผู้ถือหุ้น 100 % โดยรับผิดชอบเกี่ยวกับกิจการไปรษณีย์ของประเทศไทย ซึ่งแปรรูปมาจาก [[การสื่อสารแห่งประเทศไทย]] (กสท.) และ [[กรมไปรษณีย์โทรเลข]] กระทรวงคมนาคม
 
== วิสัยทัศน์ ==
เส้น 49 ⟶ 48:
 
และเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2546<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00126679.PDF พระราชกฤษฎีกากำหนดเงื่อนเวลายกเลิกกฎหมายว่าด้วยการสื่อสารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2546]</ref> มีการปรับโครงสร้างอีกครั้งตามนโยบาย[[แปรรูปรัฐวิสาหกิจ]] โดยแยกการสื่อสารแห่งประเทศไทย เป็น '''บริษัทไปรษณีย์ไทย จำกัด''' (ปณท) และ'''บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ''' ซึ่งปัจจุบัน บริษัทไปรษณีย์ไทย จำกัด เป็นผู้ดูแล บริการด้านไปรษณีย์ทั้งหมด มีสำนักงานใหญ่ที่[[ถนนแจ้งวัฒนะ]]
 
== ลำดับเหตุการณ์ "ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2423 ถึง ปัจจุบัน" ==
 
ใน ปี พ.ศ. 2423 เจ้าหมื่นเสมอใจราช หัวหมื่นมหาดเล็กเวรสิทธิ์ ได้ทำหนังสือกราบบังคมทูล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถวายคำแนะนำให้เปิดบริการไปรษณีย์ขึ้นใน ประเทศไทย โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำริเห็นชอบ จึงทรงแต่งตั้งให้ สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษี สว่างวงศ์กรมหลวงภาณุพันธุวงศ์วรเดช ผู้ทรงมี ประสบการณ์ เกี่ยวกับการจัดส่งหนังสือพิมพ์รายวัน "ข่าวราชการ" ดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการกรมไปรษณีย์
 
เมื่อสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้า ภาณุรังษีสว่างวงศ์ฯ ได้ทรงวางโครงการและ เตรียมการไว้พร้อมที่จะ เปิดบริการไปรษณีย์ ได้แล้ว ก็ได้ประกาศเปิดรับฝาก ส่งจดหมายหรือหนังสือ เป็นการทดลองในเขต พระนครและธนบุรีขึ้นเมื่อ วันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2426 มีที่ทำการตั้งอยู่ ณ ตึกใหญ่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ตอนปากคลองโอ่งอ่าง ด้านทิศเหนือ (ปัจจุบันถูกรื้อเพื่อใช้ที่สร้าง สะพานคู่ขนานกับสะพานพุทธ) ที่ทำการแห่งแรกนี้ใช้เป็น ที่ทำการไปรษณีย์สำหรับจังหวัดพระนคร ด้วยเรียกกันว่า "ไปรษณียาคาร"
 
ต่อมาในปี พ.ศ. 2441 เสนาบดีกระทรวงโยธาธิการกราบบังคมทูล เสนอความเห็นว่าราชการ ของกรมไปรษณีย์และราชการของกรมโทรเลข ซึ่งตั้งขึ้นก่อนกรมไปรษณีย์แล้วนั้นเป็นงานใน ด้านสื่อสารด้วยกันควรรวมเป็นหน่วยราชการ เดียวกันเสียเพื่อความสะดวกแก่การดำเนินงาน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเห็น เป็นสมควรจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้รวมหน่วยงานทั้งสองเข้าด้วยกันเรียกว่า "กรมไปรษณีย์โทรเลข"
 
ต่อมาได้ย้ายไปใช้อาคารและที่ดินริมถนน เจริญกรุงเป็นที่ทำการและเรียกกันโดยทั่วไปว่า "ที่ทำการไปรษณีย์กลาง" การไปรษณีย์ เป็นบริการสาธารณะจำเป็นต้องมีระเบียบข้อบังคับเพื่อให้ประชาชนผู้ใช้บริการและ เจ้าหน้าที่ผู้ดำเนินบริการทราบและถือปฏิบัติเมื่อ เปิดการไปรษณีย์โทรเลขได้ประมาณ 2 ปีแล้ว รัฐบาลจึงได้ตรากฏหมายขึ้นใน ปี พ.ศ. 2428 เรียกว่า "พระราชบัญญัติการไปรษณีย์ไทย จุลศักราช 1248"
 
เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2520 ได้มีการจัดตั้ง "[[การสื่อสารแห่งประเทศไทย]] (กสท.)" ตามพระราชบัญญัติการสื่อสารแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2519 โดยรับมอบกิจการด้านปฏิบัติการทั้งหมด รวมถึงการให้บริการไปรษณีย์จากกรมไปรษณีย์โทรเลขมาดำเนินการ โดยมีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจ ใช้สถานที่ปฏิบัติงาน ณ ที่ทำการไปรษณีย์กลาง ต่อมาสำนักงานใหญ่ย้ายมาอยู่ที่ถนนแจ้งวัฒนะ ซึ่ง กสท. ได้ปรับปรุงและพัฒนาบริการให้เจริญก้าวหน้ามาโดยตลอด จนเป็นรัฐวิสาหกิจชั้นนำที่ยิ่งใหญ่ มีศักยภาพเครือข่าย ระบบ และคุณภาพบริการระดับมาตรฐานสากล
 
จากนโยบายรัฐบาลที่ต้องการแปรสภาพรัฐวิสาหกิจ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานให้เทียบเท่าภาคเอกชน ซึ่ง กสท. เป็นหนึ่งในรัฐวิสาหกิจที่ต้องดำเนินการตามนโยบายดังกล่าว โดยเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2546 คณะรัฐมนตรีมีมติให้แปรสภาพ กสท. ตามแผนแม่บทพัฒนากิจการโทรคมนาคม และพระราชบัญญัติทุนรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2542 แยกกิจการเป็น 2 บริษัท คือ บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด และบริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ซึ่งจดทะเบียนจัดตั้งเป็นบริษัทเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2546
 
== สินค้าและบริการ ของ บริษัทไปรษณีย์ไทย ==
เส้น 93 ⟶ 78:
นอกจากบริษัทไปรษณีย์ไทยแล้ว ทางบริษัทได้จัดตั้งศูนย์กระจายไปรษณีย์ 19 แห่งดังนี้
=== กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ===
* ศูนย์ไปรษณีย์หลักสี่ กรุงเทพมหานคร
* ศูนย์ไปรษณีย์กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร
* ศูนย์ไปรษณีย์ด่วนพิเศษกรุงเทพ กรุงเทพมหานคร
* ศูนย์ไปรษณีย์สุวรรณภูมิ จังหวัดสมุทรปราการ
=== ภาคกลางและตะวันออก ===
* ศูนย์ไปรษณีย์ศรีราชา จังหวัดชลบุรี
* ศูนย์ไปรษณีย์ราชบุรี จังหวัดราชบุรี
* ศูนย์ไปรษณีย์พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
* ศูนย์อศูนย์กบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี
 
=== ภาคเหนือ ===
* ศูนย์ไปรษณีย์เด่นชัย จังหวัดแพร่
* ศูนย์ไปรษณีย์ลำพูน จังหวัดลำพูน
* ศูนย์ไปรษณีย์พิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก
* ศูนย์ไปรษณีย์นครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์
=== ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ===
* ศูนย์ไปรษณีย์อุดรธานี จังหวัดอุดรธานี
* ศูนย์ไปรษณีย์ขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
* ศูนย์ไปรษณีย์นครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
* ศูนย์ไปรษณีย์อุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
=== ภาคใต้ ===
* ศูนย์ไปรษณีย์หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
* ศูนย์ไปรษณีย์ทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช
* ศูนย์ไปรษณีย์ชุมพร จังหวัดชุมพร
 
== ดูเพิ่ม ==