ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Longlivethekingofthailand (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
| พระนาม = สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์
|สถาปนา = [[31 มกราคม]] [[พ.ศ. 2488]]
| สถิต = [[วัดบวรนิเวศวิหารราชวรวิหาร]]
| นิกาย = [[ธรรมยุติกนิกาย]]
| ฐานันดร = หม่อมราชวงศ์
บรรทัด 20:
|ดำรงพระยศ = [[31 มกราคม]] [[พ.ศ. 2488]] - [[11 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2501]] ({{อายุปีและวัน|2488|1|31|2501|11|11}})
}}
'''สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์''' เป็น[[สมเด็จพระสังฆราช]]พระองค์ที่ 13 แห่ง[[กรุงรัตนโกสินทร์]] สถิต ณ [[วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร]] ได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราชเมื่อปี [[พ.ศ. 2488]] ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร]] ทรงดำรงตำแหน่งอยู่ 14 พรรษา สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ [[11 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2501]] สิริพระชนมายุ 86 พรรษา
 
== พระประวัติ ==
=== พระกำเนิด ===
สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ มีพระนามเดิมว่า หม่อมราชวงศ์ชื่น นพวงศ์ เป็นโอรสในหม่อมเจ้าถนอม นพวงศ์ และหม่อมเอม (สกุลเดิม คชเสนี) ประสูติภายในวังของ[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านพวงศ์ กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาส]] ([[:หมวดหมู่:ราชสกุลนพวงศ์|ต้นราชสกุลนพวงศ์]]) ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เมื่อวันศุกร์ที่ [[22 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2415]] ตรงกับวันแรม 7 ค่ำ เดือน 12 ปีวอก<ref name="เรื่องตั้ง">{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง =สมมอมรพันธุ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ|ชื่อหนังสือ = เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๑|URL = |จังหวัด = กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = กรมศิลปากร|ปี = 2545|ISBN = 974-417-530-3|จำนวนหน้า = 428 |หน้า = 231-2}}</ref> ส่วนหม่อมเอมพระชนนีนั้น เป็นธิดา[[พระยาดำรงราชพลขันธ์ (จุ้ย คชเสนี)]] ซึ่งเป็นบุตร[[เจ้าพระยามหาโยธา (ทอเรียะ คชเสนี)]]
 
ต่อมาได้ถวายตัวเป็น[[มหาดเล็ก]]ใน[[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร]] โดยทำหน้าที่เป็น[[คะเดท]] ทหารม้าในกรมทหารมหาดเล็กราชวัลลภ มีหน้าที่ตามเสด็จรักษาพระองค์
บรรทัด 31:
พระองค์บรรพชาเป็นสามเณร ณ วัดบวรนิเวศวิหาร เมื่อปี พ.ศ. 2428 โดยมี[[พระพรหมมุนี (เหมือน สุมิตฺโต)]] [[วัดบรมนิวาสราชวรวิหาร]] เป็นพระอุปัชฌาย์ แล้วทรงศึกษาพระปริยัติธรรมกับอาจารย์หลายท่าน เช่น [[หม่อมเจ้าประภากร มาลากุล]] พระสุทธสีลสังวร (สาย) และ[[สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส]] ทรงเข้าสอบไล่ครั้งแรกเมื่อปีขาล [[พ.ศ. 2433]] ที่[[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] สอบไล่ได้[[เปรียญธรรม 5 ประโยค]] ตั้งแต่ยังเป็นสามเณร<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2434/013/104.PDF จำนวนพระสงฆ์สามเณรซึ่งสอบไล่พระปริยัติธรรมได้ ในปี ๑๐๙ ปี ๑๑๐], เล่ม ๘, ตอน ๑๓, ๒๘ มิถุนายน ร.ศ. ๑๑๐, หน้า ๑๐๕</ref> และได้รับพระราชทานพัดเปรียญในวันที่ 29 พฤศจิกายน ร.ศ. 112<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2436/037/400_1.PDF จำนวนพระสงฆ์ที่ได้รับพระราชทานพัดเปรียญ], เล่ม ๑๐, ตอน ๓๗, ๑๐ ธันวาคม ร.ศ. ๑๑๒, หน้า ๑๐๕</ref>
 
ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2435]] ได้อุปสมบท ณ [[วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร]] โดย[[พระพรหมมุนี (แฟง กิตฺติสาโร)]] เป็นพระอุปัชฌาย์ [[สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส|พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส]] เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ผนวชแล้วมาอยู่วัดบวรนิเวศวิหาร
 
ในตอนแรกทรงตั้งพระทัยจะสอบถึงเพียงเปรียญธรรม 5 ประโยคเท่านั้น แต่สมเด็จฯ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส โปรดให้สอบต่อ และทรงส่งพระองค์เข้าสอบในปีมะเมีย [[พ.ศ. 2437]] ณ [[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]]<ref name="เรื่องตั้ง ๒">{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = กรมศิลปากร|ชื่อหนังสือ = เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๒|URL = |จังหวัด = กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = กรมศิลปากร|ปี = 2545|ISBN = 974-417-530-3|จำนวนหน้า = 450|หน้า = 18}}</ref> จึงได้อีก 2 ประโยค รวมเป็น[[เปรียญธรรม 7 ประโยค]]<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2439/027/292.PDF จำนวนพระสงฆ์ที่ได้รับพระราชทานพัดเปรียญ ปเรียญ ๗ ประโยค], เล่ม ๑๓, ตอน ๒๗, ๔ ตุลาคม ร.ศ. ๑๑๕, หน้า ๒๙๒</ref>
บรรทัด 178:
[[หมวดหมู่:สมเด็จพระสังฆราชเจ้า]]
[[หมวดหมู่:กรมหลวง]]
[[หมวดหมู่:พระญาณวราภรณ์]]
[[หมวดหมู่:แม่กองบาลีสนามหลวง]]
[[หมวดหมู่:เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต]]
[[หมวดหมู่:เจ้าคณะมณฑล]]
[[หมวดหมู่:เจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร]]
[[หมวดหมู่:เปรียญธรรม 7 ประโยค]]