ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นาโนเทคโนโลยี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ประโยชน์ของนาโนเทคโนโลยี -การใช้เทคโนโลยีในเทคโนโลยีเพื่อสุขภาพ
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
→‎ตัวอย่างผลงานจากนาโนเทคโนโลยี: เพิ่มหัวข้อเรื่อง งานด้านนาโนเทคโนโลยี
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 34:
# [[นาโนมอเตอร์]] (Nanomotor)
# [[โรงงานนาโน]] (Nanofactory)
 
{{งานด้านนาโนเทคโนโลยี}}
*งานด้านวัสดุนาโนเฉพาะทางและนาโนเทคโนโลยีขั้นสูง
การพัฒนาวัสดุนาโนเฉพาะทางเพื่อให้มีคุณสมบัติพิเศษเฉพาะด้าน ที่มุ่งเน้นการประยุกต์ใช้งานด้านผลิตภัณฑ์สิ่งทอ ผลิตภัณฑ์ในครัวเรือน รวมถึงการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดี
*งานด้านการเกษตรนาโนและสิ่งแวดล้อม
การวิจัยและพัฒนานาโนเทคโนโลยีด้านนวัตกรรมอาหาร เกษตรและสิ่งแวดล้อม โดยการประยุกต์ใช้นาโนเทคโนโลยีการดัดแปลงโครงสร้างและพื้นผิว รวมทั้งการเตรียมนาโนคอมพอสิตี เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย ร่วมกับการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
*งานด้านนาโนเพื่อชีวิตและสุขภาพ
การวิจัยและพัฒนานาโนเทคโนโลยีด้านการตรวจวินิจฉัยโดยการใช้โมเลกุลเป้าหมาย การพัฒนาเทคโนโลยีระบบนำส่งยาชนิดใหม่และเวชสำอางจากการใช้ประโยชน์ ด้วยสารจากธรรมชาติและสมุนไพรไทย เพื่อการประยุกต์ทางด้านการแพทย์ สาธารณสุขและเวชสำอาง
*งานด้านมาตรวิทยานาโนวิเคราะห์และวิศวกรรม
การวิจัยและพัฒนาทางด้านมาตรวิทยาและความปลอดภัยทางด้านนาโนเทคโนโลยี การให้บริการวิเคราะห์ทดสอบระดับนาโน การพัฒนาต้นแบบงานวิจัยเชิงวิศวกรรม เพื่อเป็นรากฐานในการสร้างความเชื่อมั่นให้กับภาคการผลิตสินค้าและบริการในด้าน คุณภาพและมาตรฐานต่างๆในระดับสากล
*งานด้านการพัฒนาวัสดุนาโนและวิศวกรรมระบบนาโน
การพัฒนาและออกแบบ วัสดุ โครงสร้าง และระบบในระดับนาโนด้วยวิธีการคำนวณทางเคมีคอมพิวเตอร์ผ่านการสร้างแบบจำลองและการประเมินเชิงวิศวกรรมผ่านการ สร้างต้นแบบและระบบนำร่องสำหรับการประยุกต์ใช้งานในด้านพลังงาน ตัวเร่งปฏิกิริยา ประสิทธิภาพสูงและระบบตรวจวัดแบบจำเพาะ เพื่อความยั่งยืน และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
 
== ตัวอย่างผลงานจากนาโนเทคโนโลยี ==
เส้น 40 ⟶ 52:
* ไม้เทนนิสนาโน ผสม [[ท่อคาร์บอนนาโน]] เป็น''ตัวเสริมแรง'' ทำให้แข็งแรงขึ้น (อ่าน [[วัสดุผสม]])
* ชุดนักเรียนปลอดเชื้อและกลิ่น อันเป็นความร่วมมือระหว่างนักวิจัย [[สวทช.]] กับบริษัท สยามชุดนักเรียน จำกัด ในการพัฒนา[[เทคโนโลยีการเคลือบผ้า]]ด้วยอนุภาค[[ไทเทเนียมไดออกไซด์]] ซึ่งใช้แสงเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยาย่อยสลาย หรือที่เรียกว่า [[โฟโตแคตลิสต์]] (photocatalyst) โดยไทเทเนียมไดออกไซด์ที่โดนกระตุ้นด้วยแสงยูวี จะเกิดการแตกตัวและทำปฏิกิริยากับน้ำ จนได้เป็น[[อนุมูลอิสระ]]ซึ่งจะสามารถไปย่อยสลายโปรตีนหรือสารเคมีต่างๆ จนทำให้เชื้อแบคทีเรียและกลิ่นอับหมดไป จึงมีการนำเทคโนโลยีการเคลือบผ้าด้วยอนุภาคไทเทเนียมไดออกไซด์นี้ไปใช้กับกระบวนการผลิตชุดนักเรียนต่อไป
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}