ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พันท้ายนรสิงห์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
จางวาง (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:ศาลพันท้ายนรสิงห์ 02.JPG|thumb|220px|รูปปั้นพันท้ายนรสิงห์ ที่ศาลพันท้ายนรสิงห์ ภายในอุทยานประวัติศาสตร์พันท้ายนรสิงห์]]
 
'''พันท้ายนรสิงห์''' เป็นนายท้ายเรือในสมัยรัชสมัย[[พระเจ้าเสือ]] หรือสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 พระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 แห่ง[[ราชวงศ์บ้านพลูหลวง]] ตอนปลาย[[อาณาจักรอยุธยา]] โดยพันท้ายนรสิงห์เป็นผู้มีชื่อเสียงด้านความซื่อสัตย์<ref>[{{cite web|url=http://www.manager.co.th/Qol/ViewNews.aspx?NewsID=9490000029422|title= ความซื่อสัตย์นั้น สำคัญไฉน - Quality of Life - Manager Online]|work=ผู้จัดการออนไลน์}}</ref>
 
== ประวัติ ==
=== พระราชพงศาวดาร ===
ตามพระราชพงศาวดาร บันทึกว่า พันท้ายนรสิงห์ มีชื่อเดิมว่า "สิน" เป็นชาวบ้านนรสิงห์ แขวงเมืองวิเศษชัยชาญ (ปัจจุบัน คือ [[อำเภอป่าโมก]] [[จังหวัดอ่างทอง]]) มีภรรยาชื่อ "นวล" หรือ "ศรีนวล" ต่อมาได้กลายมาเป็นนายท้ายเรือพระที่นั่งของพระเจ้าเสือ ในบรรดาศักดิ์ พัน
เมื่อครั้งที่[[สมเด็จพระเจ้าเสือ]] เสด็จโดยเรือพระที่นั่งเอกชัย จะไปประพาสเพื่อทรงเบ็ด ณ ปากน้ำเมืองสาครบุรี เมื่อเรือพระที่นั่งถึงตำบลโคกขามซึ่งเป็นคลองคดเคี้ยวและมีกระแสน้ำเชี่ยวกราก พันท้ายนรสิงห์ซึ่งถือท้ายเรือพระที่นั่งมิสามารถคัดแก้ไขได้ทัน โขนเรือพระที่นั่งกระทบกับกิ่งไม้หักตกลงไปในน้ำ พันท้ายนรสิงห์จึงได้กระโดดขึ้นฝั่งแล้วกราบทูลให้ทรงลงพระอาญาตามพระกำหนดถึงสามครั้งด้วยกัน เนื่องจากในครั้งแรก สมเด็จพระเจ้าเสือพระราชทานอภัยโทษ เพราะเห็นว่าเป็นอุบัติเหตุสุดวิสัย ครั้งที่สองก็รับสั่งให้สร้างรูปปั้นปลอมแล้วตัดหัวรูปปั้นนั้นแทน แต่ท้ายสุดก็ได้ตรัสสั่งให้[[ประหารชีวิต]]พันท้ายนรสิงห์ตามคำขอ แล้วสร้างศาลไม้ขนาดเล็ก ลักษณะเป็นศาลไม้ในสมัยปัจจุบัน หลังคามุงกระเบื้องดินเผาหางมน พื้นศาลเป็นไม้ยกชั้น 2 ชั้น มีเสารองรับ 6 เสา
 
เมื่อครั้งที่[[สมเด็จพระเจ้าเสือ]] เสด็จโดยเรือพระที่นั่งเอกชัยไชย จะไปประพาสเพื่อทรงเบ็ด ณ ปากน้ำเมืองสาครบุรี เมื่อเรือพระที่นั่งถึงตำบลโคกขามซึ่งเป็นคลองคดเคี้ยวและมีกระแสน้ำเชี่ยวกราก พันท้ายนรสิงห์ซึ่งถือท้ายเรือพระที่นั่งมิสามารถคัดแก้ไขได้ทัน โขนเรือพระที่นั่งกระทบกับกิ่งไม้หักตกลงไปในน้ำ พันท้ายนรสิงห์จึงได้กระโดดขึ้นฝั่งแล้วกราบทูลให้ทรงลงพระอาญาตามพระกำหนดถึงสามครั้งด้วยกัน เนื่องจากในครั้งแรก สมเด็จพระเจ้าเสือพระราชทานอภัยโทษ เพราะเห็นว่าเป็นอุบัติเหตุสุดวิสัย ครั้งที่สองก็รับสั่งให้สร้างรูปปั้นปลอมแล้วตัดหัวรูปปั้นนั้นแทน แต่ท้ายสุดก็ได้ตรัสสั่งให้[[ประหารชีวิต]]ด้วยการตัดศีรษะพันท้ายนรสิงห์ตามคำขอ ในเวลาเช้าตรู่ ตรงกับวันขึ้น 9 ค่ำ เดือน 3 พ.ศ. 2241 แล้วสร้างศาลไม้ขนาดเล็ก ลักษณะเป็นศาลไม้ในสมัยปัจจุบัน หลังคามุงกระเบื้องดินเผาหางมน พื้นศาลเป็นไม้ยกชั้น 2 ชั้น มีเสารองรับ 6 เสา พร้อมกับศีรษะของพันท้ายนรสิงห์และโขนเรือเอกไชยขึ้นตั้งไว้บูชาพร้อมกัน<ref name=พัน/>
 
ภายหลังพระเจ้าเสือได้ทรงให้พระยาราชสงคราม คุมไพร่พลจำนวน 3,000 คน ทำการขุดคลองลัดคลองโคกขามที่คดเคี้ยว ไปออกที่บริเวณแม่น้ำท่าจีน กว้าง 5 วา ลึก 6 ศอก สร้างเสร็จในสมัยพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ พ.ศ. 2252 ได้พระราชทานนามคลองนี้ว่าคลองสนามไชย ต่อมาเรียกเป็น[[คลองมหาชัย]] ซึ่งเป็นที่มาของชื่อเมืองมหาชัย แต่ชาวบ้านเรียกว่าคลองถ่าน ปัจจุบันชาวบ้านฝั่งธนบุรี เรียกชื่อว่า คลองด่าน
 
== มรดกสืบทอด ==
[[ไฟล์:ศาลพันท้ายนรสิงห์ 01.JPG|thumb|220px|ศาลพันท้ายนรสิงห์ ที่ภายในอุทยานประวัติศาสตร์พันท้ายนรสิงห์ ตำบลพันท้ายนรสิงห์ [[อำเภอเมืองสมุทรสาคร]] [[จังหวัดสมุทรสาคร]]]]
 
=== อนุสาวรีย์=ศาลพันท้ายนรสิงห์ ====
ศาลพันท้ายนรสิงห์ แห่งแรกตั้งอยู่บริเวณปากคลองโคกขาม ตำบลพันท้ายนรสิงห์ อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร เชื่อว่าเป็นศาลพันท้ายนรสิงห์ที่เก่าแก่ที่สุดและเป็นจุดที่เชื่อว่าพันท้ายนรสิงห์ถูกประหารชีวิต ตัวศาลเดิมนั้นได้ผุพังไปตามกาลเวลาและถูกน้ำกัดเซาะตลิ่ง จึงได้มีการสร้างใหม่ และมีศาลในลักษณะศาลเพียงตาที่มีขา 6 ขา ที่ตั้งอยู่หน้าตัวศาลใหญ่ สร้างโดย [[ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธุ์ยุคล]] เมื่อปี พ.ศ. 2493 จากการที่ได้สร้างภาพยนตร์เรื่องพันท้ายนรสิงห์ในปีเดียวกัน
 
รูปเคารพพันท้ายนรสิงห์ในศาลแห่งนี้ สร้างขึ้นจากไม้จันทร์หอม<ref name=พัน/>
 
====วัดโคกขาม====
วัดโคกขาม ตำบลโคกขาม อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ก็เป็นอีกแห่งหนึ่งที่เชื่อว่าเป็นจุดที่พันท้ายนรสิงห์ถูกประหารชีวิตด้วยเช่นกัน<ref name=พัน/>
 
==== ศาลอุทยานประวัติศาสตร์พันท้ายนรสิงห์ ====
ศาลพันท้ายนรสิงห์ เป็น[[อนุสาวรีย์]]แห่ง[[ความซื่อสัตย์]] รักษากฎระเบียบ กฎมณเฑียรบาลยิ่งกว่าชีวิตตน ตั้งอยู่ที่บ้านพันท้ายนรสิงห์ ตำบลพันท้ายนรสิงห์ [[อำเภอเมืองสมุทรสาคร]] [[จังหวัดสมุทรสาคร]] (พิกัดภูมิศาสตร์ {{coord|13|31|58.34|N|100|22|43.43|E|region:MM}}) เป็นอีกจุดหนึ่งที่เชื่อว่าพันท้ายนรสิงห์ถูกประหารชีวิต เนื่องจากกรมศิลปากรร่วมด้วยคณาจารย์[[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]]ได้งมพบท่อนไม้ท่อนหนึ่ง พร้อมกับไม้ที่ยาวราว 80 เซนติเมตร ที่เชื่อว่าเป็นโขนเรือเอกไชย ซึ่งมีร่องรอยความเสียหาย และเมื่อได้ผ่านการตรวจสอบทางวิทยาศาสตร์แล้วพบว่า ตรงกับสมัยที่พันท้ายนรสิงห์ถูกประหารชีวิต จึงเชื่อว่าเป็นหลักประหารชีวิตพันท้ายนรสิงห์ และยังมีศาลเจ้าแม่ศรีนวล ผู้ที่เชื่อว่าเป็นภรรยาของพันท้ายนรสิงห์ และรูปเหมือนของพระเจ้าเสือและพันท้ายนรสิงห์ขอพระราชทานอาญาโทษประหารชีวิต<ref name=พัน/>
 
ศาลพันท้ายนรสิงห์ถูกประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานของชาติ ใน[[ราชกิจจานุเบกษา]] เล่ม 72 ตอนที่ 2 เมื่อวันที่ 4 มกราคม [[พ.ศ. 2498]]
[[กรมศิลปากร]]ได้ดำเนินการจัดสร้างศาลพันท้ายนรสิงห์ขึ้น อยู่ถัดจากศาลเก่าที่พังลงมาไม่มากนัก โดยกันอาณาบริเวณรอบ ๆ ศาลไว้ประมาณ 100 ไร่ เพื่อจัดตั้งเป็น "อุทยานประวัติศาสตร์พันท้ายนรสิงห์" ภายในศาลมีรูปปั้นเคารพของพันท้ายนรสิงห์ขนาดเท่าของจริงในท่าถือท้ายคัดเรือ ที่สร้างขึ้นและนำมาประดิษฐานไว้เมื่อปี พ.ศ. 2519<ref name=พัน/>
 
ผู้ที่กราบไหว้พันท้ายนรสิงห์จะเรียกพันท้ายนรสิงห์ด้วยความเคารพว่า "พ่อพันท้าย" และเชื่อว่าสามารถบนบานสักการะขอได้ในทุกเรื่อง ยกเว้นเรื่องการเกณฑ์ทหาร ที่บนบานขอแล้วจะไม่ประสบความสำเร็จ<ref name=พัน>{{cite web|url=https://tv.lakorn.asia/line%E0%B8%81%E0%B8%99%E0%B8%81/16513|work=เนชั่นทีวี|title=Lineกนก วันที่ 7 พฤษภาคม 2017|date=2017-05-07|accessdate=2017-05-08}}</ref>
=== อนุสาวรีย์พันท้ายนรสิงห์ ===
==== อนุสาวรีย์พันท้ายนรสิงห์ ====
จากบันทึกประวัติศาสตร์อ้างถึงถิ่นฐานเดิมว่าเป็นชาวบ้านนรสิงห์ แขวง[[เมืองวิเศษชัยชาญ]] เพื่อเป็นการรำลึกถึงความสำคัญของบรรพบุรุษ[[จังหวัดอ่างทอง|ชาวอ่างทอง]] จึงได้มีการร่วมกันจัดสร้างอนุสาวรีย์พันท้ายนรสิงห์ ขึ้นที่วัดนรสิงห์ ตำบลนรสิงห์ [[อำเภอป่าโมก]] [[จังหวัดอ่างทอง]] และทำพิธีเปิดอนุสาวรีย์ขึ้นในวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 <ref>[http://www.m-culture.in.th/moc_new/album/65434/พิธีบวงสรวงอนุสาวรีย์พันท้ายนรสิงห์/ พิธีบวงสรวงอนุสาวรีย์พันท้ายนรสิงห์ - ศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม]</ref>
 
==== การแข่งขันมวยไทย ====
วันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 ได้มีการจัดการแข่งขัน[[มวยไทย]]นานาชาติ ชิงแชมป์เข็มขัดพันท้ายนรสิงห์ขึ้นเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ที่[[จังหวัดสมุทรสาคร]]<ref>[{{cite web|url=http://www.manager.co.th/Travel/viewNews.aspx?NewsID=9570000014561|title= ตามรอยพันท้ายนรสิงห์ ในงาน สมุทรสาคร นคร แห่งความซื่อสัตย์]|work=ผู้จัดการออนไลน์}}</ref><ref>[http://www.tlcthai.com/travel/22756/ตามรอยพันท้ายนรสิงห์-ใน.html 'มหาชัย'จัดใหญ่ รำลึกความซื่อสัตย์ 'พันท้ายนรสิงห์']</ref>
 
== ในวัฒนธรรมร่วมสมัย ==
จากเรื่องราวของพันท้ายนรสิงห์ ได้มีการจัดนำเสนอในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ [[ละครเวที]], [[ภาพยนตร์]], [[ละครโทรทัศน์]], [[หุ่นกระบอกไทย]]<ref>[{{cite web|url=http://www.manager.co.th/iBizChannel/ViewNews.aspx?NewsID=9570000035994 MRT พาน้องชมหุ่นกระบอกไทย - iBiz - Manager Online]|work=ผู้จัดการออนไลน์}}</ref> และ[[หนังสือการ์ตูน]]<ref>[http://jindamanee.lib.ku.ac.th/cgi-bin/koha/opac-detail.pl?biblionumber=14678 พันท้ายนรสิงห์ (ฉบับการ์ตูน) - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]</ref>
 
{|class="wikitable"
เส้น 47 ⟶ 59:
| ละครโทรทัศน์ || '''[[พ.ศ. 2543]]''' || [[ธีรภัทร์ สัจจกุล]] || [[พิยดา อัครเศรณี]] || [[พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง]]
|-
| [[พันท้ายนรสิงห์ (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2558)|ภาพยนตร์]] || '''[[พ.ศ. 2558]]''' || rowspan=2| [[พงศกร เมตตาริกานนท์]] || rowspan=2| [[พิมดาว พานิชสมัย]] || rowspan=2| [[วันชนะ สวัสดี|พันเอกวันชนะ สวัสดี]]
|-
| ละครโทรทัศน์ || '''[[พ.ศ. 2559]]'''
เส้น 90 ⟶ 102:
 
[[หมวดหมู่:บุคคลที่ยังไม่ทราบปีที่เกิด]]
{{ตายปี|2241}}
[[หมวดหมู่:บุคคลที่ยังไม่ทราบปีที่เสียชีวิต]]
[[หมวดหมู่:ขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยา]]
[[หมวดหมู่:นักมวยไทยชาวไทยยุคคาดเชือก]]
เส้น 96 ⟶ 108:
[[หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดสมุทรสาคร]]
[[หมวดหมู่:โบราณสถานในจังหวัดสมุทรสาคร]]
[[category:ผู้ถูกประหารชีวิตด้วยการตัดศีรษะ]]
{{โครงชีวประวัติ}}