ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nupkao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Yeehahaha (คุย | ส่วนร่วม)
ชาวไทย
บรรทัด 2:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{รีไรต์}}
{{ไม่เป็นกลาง}}
{{กล่องข้อมูล พุทธศาสนวัตถุ
| official_name = พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร
เส้น 18 ⟶ 17:
| footnote =
}}
'''พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร''' หรือ '''พระแก้วมรกต''' เป็น[[พระพุทธรูป]]คู่บ้านคู่เมืองของ[[ชาวลาว|ชาวไทย]] ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ใน[[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] (หรือ วัดพระแก้ว) ใน[[พระบรมมหาราชวัง]] [[กรุงเทพมหานคร]]
 
พระแก้วมรกตเป็นพระพุทธรูปที่แกะสลักจากหยกอ่อน[[เนไฟรต์]]สีเขียวดังมรกต เป็นพระพุทธรูปสกุล[[ศิลปะก่อนเชียงแสน]]ถึง[[ศิลปะเชียงแสน]] หลักฐานที่ตรงกันระบุว่าพบครั้งแรก ประดิษฐานอยู่ในเจดีย์วัดป่าญะ ตำบลเวียง [[อำเภอเมืองเชียงราย|เมืองเชียงราย]]<ref>หนังสือรัตนพิมพ์วงศ์ พระภิกษุพรหมราชปัญญา แต่งเป็นภาษาบาลีไว้ เมื่อ พ.ศ. 2272</ref> (ปัจจุบันคือ[[วัดพระแก้ว เชียงราย]] [[อำเภอเมืองเชียงราย]]) ในปี [[พ.ศ. 1977]] (หรือ [[ค.ศ. 1434]]) ฟ้าได้ผ่าลงองค์พระเจดีย์จนพังทลายลง จึงพบพระพุทธรูปพอกปูน[[ลงรักปิดทอง]] จึงได้นำไปไว้ในวิหาร ต่อมาปูนบริเวณพระนาสิกเกิดกระเทาะออก เห็นเป็นเนื้อมรกต จึงกระเทาะปูนออกทั้งองค์ เห็นเป็นเนื้อหยกสีมรกตทั้งองค์
 
หลังจากนั้น [[พระเจ้าสามฝั่งแกน]]แห่งเชียงใหม่ทราบข่าวการค้นพบพระพุทธรูปนี้ จึงเชิญมาประดิษฐานที่[[เชียงใหม่]] แต่ช้างทรงพระแก้วมรกตกลับไม่เดินทางไปยังเชียงใหม่ แต่ไปทาง[[ลำปาง]]หากช้างนั้นมีพระแก้วมรกตอยู่บนหลังช้าง เชียงใหม่เห็นว่าลำปางก็อยู่ในอาณาจักรล้านนาจึงนำไปไว้ที่[[วัดพระแก้วดอนเต้า]] ถึงสมัย[[พระเจ้าติโลกราช]] ได้เชิญพระแก้วมรกตมายังเชียงใหม่ ประดิษฐานที่ซุ้มจระนำทิศตะวันออกของเจดีย์หลวงใน[[วัดเจดีย์หลวง]]ระยะหนึ่ง จึงสร้าง[[โลหะปราสาท]]ประดิษฐานไว้แต่ถูกฟ้าผ่าหลายครั้งจึงแปลงเป็นมหาวิหารเชิญพระแก้วมรกตกับ[[พระเสตังคมณี]](พระแก้วขาว) ประดิษฐานไว้ในนั้ยเรียกว่าหอพระแก้ว ครั้นเมื่อ[[พระเจ้าไชยเชษฐา]]แห่ง[[ล้านช้าง]]ซึ่งเป็นญาติกับราชวงศ์[[ล้านนา]]มาครองเมืองเชียงใหม่ เมื่อพระเจ้าไชยเชษฐาเสด็จกลับ[[หลวงพระบาง]] ก็เชิญพระแก้วมรกตไปด้วยพร้อมกับ[[พระพุทธสิหิงค์]] ทางเชียงใหม่ขอคืนก็ได้แต่พระพุทธสิหิงค์ เมื่อล้านช้างย้ายเมืองหลวงจากหลวงพระบางมา[[เวียงจันทน์]]ก็เชิญพระแก้วมรกตลงมาด้วย ต่อมา[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]] ทรงสถาปนา[[กรุงธนบุรี]]ขึ้นเป็น[[เมืองหลวง]] พระองค์ได้ทรงอัญเชิญพระแก้วมรกต และ[[พระบาง]] มาจาก[[อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์]] (ลาว) ในครั้งนั้นประดิษฐานไว้ที่[[วัดอรุณราชวราราม]] ต่อมาเมื่อสิ้นรัชสมัยของพระองค์ [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] ทรงอัญเชิญพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรลงบุษบกในเรือพระที่นั่ง เสด็จข้ามฝั่ง[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] มาประดิษฐานยังวัดพระศรีรัตนศาสดาราม จนถึงปัจจุบัน ส่วน[[พระบาง]]ได้คืนให้แก่ลาว
 
==ตำนานพระแก้วมรกต==
เส้น 42 ⟶ 41:
 
== ประเพณี ==
เนื่องจากพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร เป็นพระพุทธพุทธูปประจำพระราชอาณาจักร ดังนั้นประเพณีที่เกี่ยวข้อง ส่วนมากจึงเป็นพระราชพิธี เช่น
* [[พระราชพิธีตรียัมปวายและตรีปวาย]]
* [[พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลมาฆบูชา]]
เส้น 61 ⟶ 60:
 
== การขึ้นทะเบียน ==
* [[กระทรวงศึกษาธิการ]] ประกาศเป็นพระพุทธรูปสำคัญ ตามบัญชีแนบท้าย ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการก่อสร้างอนุสาวรีย์แห่งชาติ และการจำลองพระพุทธรูปสำคัญ พ.ศ. 25252520
 
== เครื่องทรง ==
เส้น 96 ⟶ 95:
ภาพ:Emerald Buddha 1873.jpg|พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร ในสมัย[[รัชกาลที่ 6]]
ภาพ:Glassbuda.JPG|พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร
ภาพ:Emeraldbuddha3seasons.jpg|พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรในเครื่องทรงทั้ง 3 ฤดู
ภาพ:Emerald buddha2.jpg|เครื่องทรงฤดูร้อนของพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร
ภาพ:Emeraldbuddha.jpg|เครื่องทรงฤดูฝนของพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร