ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nkai9999 (คุย | ส่วนร่วม)
Nkai9999 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 139:
๔.๑ ช่วยเหลือและจัดบริการทางสังคมสงเคราะห์ตามแนวทางที่กำหนดไว้ 
 
๔.๒ประสานงานในการช่วยเหลือและส่งต่อการส่งต่อบริการ  กรณีที่ไม่สามารถดำเนินการได้ในหน่วยงานโรงพยาบาล ต้องส่งต่อหน่วยงานภายนอกที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้านตามกลุ่มเป้า
 
หมายตามกลุ่มเป้าหมายทางสังคมสงเคราะห์  เช่น พนักงานคุ้มครองเด็ก หน่วยงานบริการทางสังคมผู้สูงอายุ  หน่วยบริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนงานทุพพลภาพ หน่วยงานสงเคราะห์เด็กกำพร้าด้อยโอกาส
 
สถานสงเคราะห์ไร้ที่พึ่ง สำนักงานยุติธรรมจังหวัด บ้านพักฉุกเฉิน สถาบันพัฒนาเด็ก ฯลฯ  เป็นต้น  
บรรทัด 151:
'''บริการสังคมสงเคราะห์ชุมชนและครอบครัว'''
 
                    เป็นการส่งเสริมสุขภาพอนามัย ป้องกันและแก้ไขปัญหาทางสังคมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในชุมชน  โดยการจัดบริการทางสังคมและสร้างเครือข่ายทางสังคม  (Social  Network) เพื่อให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมและเกิดการพึ่งพาตนเอง วัตถุประสงค์งานสังคมสงเคราะห์ชุมชนและครอบครัว   เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันการเกิดปัญหาทางสังคมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน  เพื่อจัดบริการแก้ปัญหาทางสังคมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนในชุมชน  เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของประชาชนในชุมชน กิจกรรม ได้แก่  สำรวจและศึกษาการเกิดปัญหาทางสังคม ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนในชุมชน ให้การดูแลผู้ป่วยในชุมชน  (Home Care)  โดยใช้กระบวนการสังคมสงเคราะห์ชุมชน  เพื่อสนับสนุนให้เครือข่ายทางสังคม  (Social  Network) รองรับผู้ป่วยให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างเหมาะสมและป้องกันการเจ็บป่วย  หรือการเกิดปัญหาทางสังคมซ้ำโดยวิธีการ เยี่ยมบ้าน  (Home Visit  )  การเยี่ยมบ้าน หมายรวมถึง สถานที่ที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วย มีวัตถุประสงค์ของการเยี่ยมบ้าน ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อวิเคราะห์ปัญหา การรักษาต่อเนื่อง และ การติดตาม ผล การจัดบริการสังคมสงเคราะห์ในชุมชน สนับสนุนการจัดบริการสู่ชุมชน  โดยจัดระบบการดำเนินงาน ทรัพยากรและความร่วมมือทางสังคม องค์กรต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนเพื่อให้เห็นความสำคัญของปัญหา กระตุ้นให้ชุมชนรวมกลุ่มกันจัดบริการในชุมชนนั้นๆ     นอกจากนี้  ยังรวมถึง การเผยแพร่ความรู้  ข่าวสาร ด้านปัญหาสังคมที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพอนามัย  วิธีการแก้ไขปัญหา การป้องกัน การดูแลและการจัดการตนเองเมื่อเกิดปัญหาทางสังคม โดยวิธีการการบรรยาย จัดนิทรรศการ เผยแพร่  เอกสารและสื่อต่าง ๆ  การจัดบริการทางสังคมสงเคราะห์แก่ชุมชนในภาวะวิกฤตต่าง ๆ เช่น  ชุมชนที่เกิดอุทกภัย วาตภัย  อัคคีภัย ในสถานการณ์เร่งด่วนโดยให้บริการบำบัดทางสังคม  ช่วยเหลือ ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานและองค์กรที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้ประสบภัยได้รับการสงเคราะห์ การบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ  ตามความเหมาะสม 
 
'''ขั้นตอนการให้บริการสังคมสงเคราะห์ชุมชนและครอบครัว'''
บรรทัด 193:
4.6 สรุปและวางแผนการให้บริการ
 
5.    ขั้นตอนการให้บริการด้านสังคมและสุขภาพอนามัยแก่ชุมชนในภาวะวิกฤติ
 
5.1 เตรียมการ  ร่วมประชุมทีมงานและกำหนดแผนงาน   เตรียมบุคคลกร  กำหนดสถานที่ เตรียมอุปกรณ์
บรรทัด 205:
6. ประเมินและติดตามผล
 
6.1  ประชุมประเมินผลการปฏิบัติงาน
 
6.2 เสนอแนะแนวทางและแผนงานต่อไป
บรรทัด 223:
2.การบริการสังคมสงเคราะห์ (ด้านการบำบัดทางสังคมของผู้ป่วยและครอบครัว)
 
2.1   เป็นการให้การบำบัด รายบุคคล กลุ่ม ครอบครัว เพื่อให้ผู้ใช้บริการและครอบครัวตระหนักรู้ในบทบาทหน้าที่ตนเอง สามารถทำหน้าที่ทางสังคม (Social Function) และจัดการกับปัญหาทางอารมณ์-จิตใจ สังคมได้ด้วยตนเอง  ให้การบำบัดทางสังคมรายบุคคล กลุ่ม และครอบครัวที่สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของผู้ใช้บริการ  ดังนี้
 
    2.1.1 ครอบครัวบำบัด (Family  Therapy) เช่น ปัญหาครอบครัวและการเลี้ยงดูที่เหมาะสม ปัญหาสัมพันธภาพ  ปัญหาสุขภาพจิตผู้ดูแล  ปัญหาความขัดแย้ง  ความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้าและทำร้ายตนเองและผู้อื่น การไม่ทำหน้าที่ตามบทบาท(Dysfunction) การไม่รู้จักขอบเขต(Boundary)ในครอบครัว เป็นต้น การประเมินผลลัพธ์ของการบำบัด  ถ้ามีความเสี่ยงอยู่ ต้องวางแผนการบำบัดและบริการทางเลือกอื่นต่อไป
 
3.บริการด้านสังคมสงเคราะห์  ด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ
 
3.1   การฟื้นฟูมรรถภาพทางสังคม มีจุดหมายเพื่อให้สังคมยอมรับความสามารถของคนที่มีความผิดปกติ  /พิการ           การเตรียมความพร้อมทางสังคม  การจัดสภาพแวดล้อม    เป็นการพัฒนาศักยภาพทางสังคมของผู้ใช้บริการ ให้มีทักษะสังคม ทักษะการดำรงชีวิต สามารถปรับตัว ทำหน้าที่ทางสังคมได้อย่างเหมาะสม และสามารถดำรงชีวิต ได้ตามศักยภาพ  การฟื้นฟูสมรรถภาพทางสังคม  เป็นสิ่งจำ เป็นสำ หรับการบำบัดรักษาผู้ป่วย   โดยเฉพาะ   ผู้พิการ  และผู้ที่มีความผิดปกติทางจิต เพราะความผิดปกติทางจิตเป็นโรคหรือภาวะเรื้อรัง ที่ จำ เป็นต้องมีการฟื้นฟูสมรรถภาพทางกาย ทางจิตและทางสังคม เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถดำ รงตนอยู่ในชุมชน สังคมได้เป็นปกติสุข   
 
3.2   ด้านการป้องกันและฟื้นฟูสภาพ นักสังคมสงเคราะห์รับผิดชอบจัดทำโปรแกรมการ สงเคราะห์ฟื้นฟูสภาพทางสังคมของผู้ป่วยและครอบครัว  ทั้งในโรงพยาบาล  ศูนย์สุขภาพชุมชนและเชิงรุกในชุมชน โดยการเตรียมความพร้อมครอบครัว สงเคราะห์ การป้องกัน และแก้ไขปัญหา ทั้งระยะสั้น และระยะยาว โดยการประเมินความสมารถในทำกิจวัตรประจำวัน การทำงาน  การเรียน ประเมินครอบครัว   ติดตามการบริการที่บ้าน (Home  Care) การติดตามเยี่ยมดูแลผู้ป่วยและญาติที่บ้านเพื่อประเมินผลการสงเคราะห์ การคุ้มครอง และการพิทักษ์สิทธิ์  และการปฏิบัติการดูแลตนเองของผู้ป่วยและครอบครัวอย่างต่อเนื่องผสมผสานและเป็นองค์รวม ปฏิบัติงานที่ยุ่งยากร่วมกับทีมสหวิชาชีพ  ในศูนย์เฉพาะทาง  
 
  3.3 ด้านการสังคมสงเคราะห์ชุมชน   เป็นการทำงาน ร่วมกับทีมสหวิชาชีพ ในพื้นที่  และ มีการเตรียมความพร้อม ชุมชน  และสังคม  ในการ ดูแลผู้ป่วยที่มี แนวโน้ม เป็นกลุ่มเสี่ยง  ต่อปัญหาทางมสังคม และ กลุ่มที่มีปัญหาทางสังคม กิจกรรมสังคมสงเคราะห์ชุมชน ได้แก่  จัดหาที่อยู่อาศัยชั่วคราว / ถาวร  จัดหาสถานที่ดูแล/คนดูแล (หลังจำหน่ายออก โรงพยาบาลแล้ว)  การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบำบัด รายบุคคล
 
ประสาน/ส่งต่อศูนย์สุขภาพชุมชนและอาสาสมัครดูแลกันเองในชุมชน  เป็นต้น