ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
/* งานสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ เป็นสาขาหนึ่งของสังคมสงเคราะห์ ทำงานร่วมกับทีมสหวิชาชีพ
/* งานสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ เป็นสาขาหนึ่งของสังคมสงเคราะห์ ทำงานร่วมกับทีมสหวิชาชีพ
บรรทัด 3:
 
=== งานสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ ===
===== งานสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ เป็นสาขาหนึ่งของสังคมสงเคราะห์ ทำงานร่วมกับทีมสหวิชาชีพในโรงพยบาล ผู้ที่ทำหน้าที่ดังกล่าวถูกเรียกว่า นักสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ หรือ นักสังคมสงเคราะห์ทางคลินิก ซึ่งเป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ หรือสาขาที่สภาวิชาชีพสังคมสงเคราะหฺ์รับรองสังคมสงเคราะห์รับรอง ทำหน้าที่   คัดกรอง เฝ้าระวัง ประเมินวินิจฉัย บำบัด เยียวยา ให้การปรึกษา ให้คำแนะนำ ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยที่ประสบปัญหาสังคม อารมณ์ จิตใจ พฤติกรรม ปัญหาครอบครัว ปัญหาการดำรงชีวิต ปัญหาการเงิน และปัญหาสังคมอื่นๆ ทั้งนี้ร่วมวิเคราะห์สาเหตุ ปัจจัยพฤติกรรม สิ่งแวล้อม และความเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคที่ทำให้เกิดการบาดเจ็บ ร่วมกับสหวิชาชีพในและนอกโรงพยาบาล มีการพัฒนาศักยภาพของบุคคลที่มีความเสื่อมหรือความบกพร่องทางสังคมให้กลับไปทำหน้าที่อยู่ในสังคมได้ มีการเสริมพลังให้ผู้ป่วย ครอบครัวและผู้ดูแล มีศักยภาพในการดูแลผู้ป่วย ทำหน้าที่ประสานและการจัดการทรัพยากร ตลอดจนพิทักษ์สิทธิประโยชน์ให้กับผู้ป่วยและครอบครัว เตรียมครอบครัว ชุมชนและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้การช่วยเหลือผู้ป่วยอย่างเหมาะสม ทำงานภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิชาชีพสังคมสงเคราะห์    ตามพรบ.วิชาชีพสังคมสงเคราะห์ พ.ศ. 2556    โดยใช้เครื่องมือทางสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์  ที่รับรองโดยสภาวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ได้แก่ เครื่องมือประเมินและวินิจฉัยทางสังคม  ( สค.)  เครื่องมือประเมินทักษะพื้นฐานการทำงานและทักษะทางสังคม         แบบประเมินความพร้อมครอบครัวในการดูแลผู้ป่วย   แบบประเมินการดูแลสุขภาพจิต โดยใช้วิธีการสังคมสงเคราะห์เฉพาะราย กลุ่ม ชุมชน และกระบวนการ ตามมาตรฐานวิชาชีพกำหนด =====
 
===== งานสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ เป็นสาขาหนึ่งของสังคมสงเคราะห์ ทำงานร่วมกับทีมสหวิชาชีพในโรงพยบาล ผู้ที่ทำหน้าที่ดังกล่าวถูกเรียกว่า นักสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ หรือ นักสังคมสงเคราะห์ทางคลินิก ซึ่งเป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ หรือสาขาที่สภาวิชาชีพสังคมสงเคราะหฺ์รับรอง ทำหน้าที่   คัดกรอง เฝ้าระวัง ประเมินวินิจฉัย บำบัด เยียวยา ให้การปรึกษา ให้คำแนะนำ ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยที่ประสบปัญหาสังคม อารมณ์ จิตใจ พฤติกรรม ปัญหาครอบครัว ปัญหาการดำรงชีวิต ปัญหาการเงิน และปัญหาสังคมอื่นๆ ทั้งนี้ร่วมวิเคราะห์สาเหตุ ปัจจัยพฤติกรรม สิ่งแวล้อม และความเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคที่ทำให้เกิดการบาดเจ็บ ร่วมกับสหวิชาชีพในและนอกโรงพยาบาล มีการพัฒนาศักยภาพของบุคคลที่มีความเสื่อมหรือความบกพร่องทางสังคมให้กลับไปทำหน้าที่อยู่ในสังคมได้ มีการเสริมพลังให้ผู้ป่วย ครอบครัวและผู้ดูแล มีศักยภาพในการดูแลผู้ป่วย ทำหน้าที่ประสานและการจัดการทรัพยากร ตลอดจนพิทักษ์สิทธิประโยชน์ให้กับผู้ป่วยและครอบครัว เตรียมครอบครัว ชุมชนและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้การช่วยเหลือผู้ป่วยอย่างเหมาะสม ทำงานภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิชาชีพสังคมสงเคราะห์    ตามพรบ.วิชาชีพสังคมสงเคราะห์ พ.ศ. 2556    โดยใช้เครื่องมือทางสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์  ที่รับรองโดยสภาวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ได้แก่ เครื่องมือประเมินและวินิจฉัยทางสังคม  ( สค.)  เครื่องมือประเมินทักษะพื้นฐานการทำงานและทักษะทางสังคม         แบบประเมินความพร้อมครอบครัวในการดูแลผู้ป่วย   แบบประเมินการดูแลสุขภาพจิต โดยใช้วิธีการสังคมสงเคราะห์เฉพาะราย กลุ่ม ชุมชน และกระบวนการ ตามมาตรฐานวิชาชีพกำหนด =====
 
== นักสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ ==
เส้น 27 ⟶ 26:
  - พ.ร.บ.สุขภาพจิต ๒๕๕๑ 
 
  - พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑   
 
  - พ.ร.บ.ผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖   
 
  - พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕
 
  - พ.ร.บ.ประกันสังคม  พ.ศ. ๒๕๓๓ และพ.ร.บ.กองทุนเงินทดแทน  พ.ศ. ๒๕๓๗
 
- พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ  พ.ศ. ๒๕๓๕   
 
  - พ.ร.บ.ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. ๒๕๔๖
 
          -  พ.ร.บ ค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา - ฯลฯ 
 
สถาบันที่ผลิตนักสังคมสงเคราะห์ มี 6 สถาบัน ประมาณ 800 คน/ ปีดังนี้
 
ม.ธรรมศาสตร์ หลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตร์บัณฑิต จำนวน 330  คน /ปี
 
ม.หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติหลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตร์บัณฑิตจำนวน 150 คน  /ปี
 
มหามกุฎราชวิทยาลัย หลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตร์บัณฑิต จำนวน 50 คน/ปี
 
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัยหลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตร์บัณฑิต  จำนวน  50  คน/ปี
 
ม.เกริก หลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตร์บัณฑิต จำนวน   30  คน/ปี
 
ม.สงขลานครินทร์ หลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตร์บัณฑิต จำนวน 50 คน  /ปี
 
สถาบันอื่น ตาม กพ กำหนด(จิตวิทยา และสังคมวิทยา ฯลฯ ) จำนวน 200  คน /ปี
 
สมรรนะนักสังคมสงเคราะห์ ด้านต่าง ๆ ดังนี้
เส้น 61 ⟶ 60:
1.ปฏิบัติงานตามมาตรฐาน จริยธรรม วิชาชีพสังคมสงเคราะห์  : รักงาน รักผู้ป่วย
 
2.การพัฒนาตนเอง : การเข้าร่วมประชุม อบรม สัมนา เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพิ่มพูนทักษะ (แลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในหน่วยงาน ระหว่าง รพ.)
 
3.การให้บริการ : สามารถให้บริการ  1.)  เฉพาะราย (Social Case Work)  2.) กลุ่มชน (Social Group Work)  3.) สังคมสงเคราะห์ชุมชน / การจัดระเบียบและการพัฒนาชุมชน (Community Organization and Community Development เพื่อสร้างความยั่งยืนทางสวัสดิการด้านสาธารณสุขให้แก่ชุมชน/สังคม)
 
4.เครือข่าย : สร้างและมีสัมพันธภาพที่ดีกับเครือข่ายการให้บริการ : สหสาขาวิชาชีพ ภาคีเครือข่ายที่รับ/ส่งต่อ ชุมชน องค์กรภาครัฐและเอกชน
เส้น 73 ⟶ 72:
อนึ่งการทำงานสังคมสงเคราะห์มีกลุ่มผู้ป่วยหลากหลาย มีปัญหาและความต้องการที่ต่างกัน จำเป็นต้องมีวิชาชีพนักสังคมสงเคราะห์ ที่มีความรู้และความเข้าใจในการทำงาน ที่เชื่อมโยงทีมผู้รักษา กับผู้ป่วยกับครอบครัวและระบบสภาวะแวดล้อม เพื่อทำหน้าที่เชื่อมโยงทรัพยากร ประสานหน่วยงานอื่นในการแสวงหาและจัดบริการสวัสดิการที่เหมาะสมมาใช้ นำไปสู่การลดผลกระทบของปัญหาทางสังคมที่มีต่อผู้ป่วยและครอบครัว และสนับสนุน ผลักดันให้ผู้ป่วยคืนสู่ครอบครัวและสังคม สามารถใช้ชีวิตปกติในครอบครัว สังคมได้   
 
 นักสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์กับ'''งานบริการหญิงตั้งครรภ์ไม่พร้อม'''
 
             - ผู้หญิงตั้งครรภ์ไม่พร้อม การตั้งท้องโดยไม่พร้อมส่วนใหญ่มีสาเหตุประกอบกันมากกว่าหนึ่งสาเหตุที่ส่งผลให้เกิดความไม่พร้อมในการตั้งครรภ์ สาเหตุส่วนใหญ่มาจากปัญหาครอบครัว สังคมเศรษฐกิจ สุขภาพกายและจิตใจของผู้หญิงนั้น รวมทั้งการเข้าถึงบริการคุมกำเนิดที่มีประสิทธิภาพ ปัญหาท้องไม่พร้อมนั้นได้ถูกเชื่อมโยงกับบรรทัดฐานทางสังคมและถูกตีค่าในเชิงจริยธรรมค่อนข้างสูง ประกอบกับบริการยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัยในระบบบริการสุขภาพปกติยังมีข้อจำกัดหลายด้านทำให้เกิดผลกระทบตามมาหลายส่วน ทั้งปัญหาสุขภาพกาย จิตใจ ปัญหาครอบครัวและสังคม ทั้งก่อนและระหว่างการตั้งครรภ์ รวมไปจนถึงศักยภาพการดูแลเด็กต่ออย่างมีคุณภาพหลังคลอด บางรายที่แก้ปัญหาไม่ได้อาจตัดสินใจผิดพลาดด้วยการทำแท้งอย่างไม่ถูกหลักทางการแพทย์(ทำแท้ง ที่ไม่ปลอดภัย) ซึ่งเป็นวิธีการที่เป็นอันตรายต่อชีวิตหรือสุขภาพของตนเองและเด็กในครรภ์จนทำให้เกิดความพิการตามมาหรือสูญเสียชีวิตตามมาการช่วยเหลือกลุ่มเหล่านี้จำเป็นต้องได้รับความเห็นใจเข้าใจและยอมรับจากคนในครอบครัวและสังคม นักสังคมสงเคราะห์ มีหน้าที่ช่วยทีมงานสุขภาพทั้งระยะสั้น ระยะยาว ในการวางแผนการช่วยเหลือโดยทำงานกับครอบครัว ชุมชน และให้มีทางเลือกต่อการแก้ปัญหาที่เหมาะสมและสอดคล้องกับเงื่อนไขชีวิตและศักยภาพของแต่ละคนไม่นำพาตนเองไปสู่การแก้ปัญหาที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพและชีวิต
 
นักสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์กับ'''งานบริการเด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรง'''
 
           - ผู้ป่วยเด็ก/สตรี ที่ถูกทำรุนแรงหรือถูกทารุณกรรม ทั้งทางร่างกาย ทางจิตใจ ทางเพศ ทางการถูกละเลยทอดทิ้ง ซึ่งผลกระทบต่อผู้ถูกกระทำโดยทำให้เกิดความบาดเจ็บ พิการหรือถึงแก่ชีวิต เกิดปัญหาสุขภาพกายจิต บุคลิกภาพบกพร่อง ก้าวร้าว เกิดภาวะการตั้งครรภ์ไม่พร้อมหรือโรคทางเพศสัมพันธ์อื่นๆ ส่งผลให้ความสัมพันธ์ในครอบครัวไม่สงบสุข ถูกทำลาย จนมีปัญหาด้านพัฒนาการ ปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช ปัญหาครอบครัวติดตามมา มีพฤติกรรมและความไม่มั่นคงทางจิตใจ อารมณ์ในระยะยาว ในการแก้ปัญหานี้ไม่สามารถ แก้ไขได้ด้วยการรักษาพยาบาลหรือให้บริการทางการแพทย์ได้เพียงอย่างเดียว นักสังคมสงเคราะห์จะต้องทำหน้าที่ในการประเมินวินิจฉัยสภาพครอบครัว ปัจจัยแวดล้อมต่างๆที่กระตุ้นให้เกิดการใช้ความรุนแรง การจัดการกับสิ่งแวดล้อมทั้งภายในตัวผู้ป่วยเช่นทัศนคติและความเชื่อต่างๆ สิ่งแวดล้อมภายนอกเช่น ความเป็นอยู่ สภาพเศรษฐกิจ อาชีพ รายได้ แหล่งทุน/ทรัพยากรต่างๆ รวมทั้งการช่วยเหลือกรณีมีความรุนแรงมากจนถึงขั้นต้องใช้กระบวนการแบบสหวิชาชีพจากภายนอกเข้าควบคุมหรือคุ้มครองสวัสดิภาพแก่เด็กและสตรีเพื่อป้องกันการถูกทำร้ายซ้ำ หรือการจัดหาสวัสดิการสังคมอื่นๆให้กับผู้ป่วยและครอบครัวที่ประสบปัญหา เพื่อให้หลุดพ้นจากการถูกทำร้ายอย่างถาวรไม่กลับมารักษาอีกหลายครั้ง
 
               นักสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ใน'''งานผู้ป่วยจิตเวชผู้ป่วยและยาเสพติด'''
 
           - ผู้ป่วยที่มีภาวะพิการทางกายและใจ หรือผู้ป่วยจิตเวชที่ถูกทอดทิ้งจากครอบครัว จนเกิดปัญหาซ้ำซ้อนที่ไม่ได้รับการแก้ไข  ทำให้ผู้ป่วยกลับเป็นซ้ำ ส่งผลให้การเจ็บป่วยรุนแรง มีความยากลำบากในการดูแลช่วยเหลือ  และการแก้ไขปัญหา นักสังคมสงเคราะห์ทำหน้าที่ในการติดตาม บำบัดเยียวยาทางสังคม จัดหาทรัพยากร กายอุปกรณ์ในการฟื้นฟูสมรรถภาพทางสังคมของผู้ป่วย นอกจากนี้  ผู้ป่วยจิตเวชที่ถูกทอดทิ้ง   ถูกล่ามขัง ผู้ป่วยจิตเวชที่มีปัญหาทางด้านกฎหมายร่วมด้วย (เช่น  กรณีเป็นผู้ถูกกล่าวหา)    ผู้ป่วยที่ก้าวร้าวรุนแรงเป็นอันตรายต่อครอบครัวและสังคม ทรัพย์สิน ซึ่งหากไม่ได้รับการ ประเมินปัญหาทางสังคม ปัจจัยกระตุ้นหรือแรงขับของพฤติกรรม อย่างถูกต้อง ครบถ้วน โดยนักสังคมสงเคราะห์ ย่อมนำไปสู่การวางแผนการบำบัดรักษาของ ทีมสหวิชาชีพที่ผิดพลาด การช่วยเหลือดูแล ที่ไม่ตรงกับความเป็นจริง และในที่สุดก็จะทำให้ผู้ป่วยเหล่านี้ ป่วยซ้ำ และมีพฤติกรรมที่เป็นอันตราย รุนแรงหนักกว่าเดิม                 
              -ผู้ป่วยที่มีภาวะพิการทางกายและใจ หรือผู้ป่วยจิตเวชที่ถูกทอดทิ้งจากครอบครัว จน
 
           - ผู้ป่วยติดสารเสพติด อันเนื่องมาจากปัญหาทางครอบครัวและสังคมที่ทำให้ผู้ป่วยเกิดความกดดันและหันไปใช้สารเสพติดเป็นเวลานาน จนไม่สามารถเลิกการใช้สารเสพติดได้ ทั้งนี้หากขาดการเยียวยาหรือการบำบัด แก้ไขทางสังคมโดยมีนักสังคมสงเคราะห์เป็นผู้ประสานความช่วยเหลือ  ผู้ป่วยจะกลายเป็นภาระของสังคม และครอบครัวในระยะยาว อีกทั้งมีแนวโน้มย้อนกลับมาเป็นผู้ป่วยที่มีภาวะป่วยซ้ำซ้อนมากขึ้นในโรงพยาบาล 
เกิดปัญหาซ้ำซ้อนที่ไม่ได้รับการแก้ไข  ทำให้ผู้ป่วยกลับเป็นซ้ำ ส่งผลให้การเจ็บป่วยรุนแรง มีความยากลำบากในการดูแลช่วยเหลือ  และการแก้ไขปัญหา นักสังคมสงเคราะห์ทำหน้าที่ในการติดตาม บำบัดเยียวยาทางสังคม จัดหาทรัพยากร กายอุปกรณ์ในการฟื้นฟูสมรรถภาพทางสังคมของผู้ป่วย นอกจากนี้  ผู้ป่วยจิตเวชที่ถูกทอดทิ้ง   ถูกล่ามขัง ผู้ป่วยจิตเวชที่มีปัญหาทางด้านกฎหมายร่วมด้วย (เช่น  กรณีเป็นผู้ถูกกล่าวหา)    ผู้ป่วยที่ก้าวร้าวรุนแรงเป็นอันตรายต่อครอบครัวและสังคม ทรัพย์สิน ซึ่งหากไม่ได้รับการ ประเมินปัญหาทางสังคม ปัจจัยกระตุ้นหรือแรงขับของพฤติกรรม อย่างถูกต้อง ครบถ้วน โดยนักสังคมสงเคราะห์ ย่อมนำไปสู่การวางแผนการบำบัดรักษาของ ทีมสหวิชาชีพที่ผิดพลาด การช่วยเหลือดูแล ที่ไม่ตรงกับความเป็นจริง และในที่สุดก็จะทำให้ผู้ป่วยเหล่านี้ ป่วยซ้ำ และมีพฤติกรรมที่เป็นอันตราย รุนแรงหนักกว่าเดิม                 
 
นักสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ใน'''งานผู้ป่วยโรคมะเร็งและระยะสุดท้าย'''
           -ผู้ป่วยติดสารเสพติด อันเนื่องมาจากปัญหาทางครอบครัวและสังคมที่ทำให้ผู้ป่วยเกิดความกดดัน
 
และหันไปใช้สารเสพติดเป็นเวลานาน จนไม่สามารถเลิกการใช้สารเสพติดได้ ทั้งนี้หากขาดการเยียวยาหรือการบำบัด แก้ไขทางสังคมโดยมีนักสังคมสงเคราะห์เป็นผู้ประสานความช่วยเหลือ  ผู้ป่วยจะกลายเป็นภาระของสังคม และครอบครัวในระยะยาว อีกทั้งมีแนวโน้มย้อนกลับมาเป็นผู้ป่วยที่มีภาวะป่วยซ้ำซ้อนมากขึ้นในโรงพยาบาล 
 
นักสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ในงานผู้ป่วยโรคมะเร็งและระยะสุดท้าย
 
นักสังคมสงเคราะห์ มีบทบาทในการการประเมินเส้นความสัมพันธ์ (Genogram) การวิเคราะห์แผนผังครอบครัว (Family Tree) กระบวนการปรึกษา(Counseling) การเสริมพลัง   (Empowerment) การสร้างเครือข่ายทางสังคม (Social Network)   เป็นต้น   นักสังคมสงเคราะห์ วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นและคาดว่าจะเกิดขึ้นได้ รวมถึงทำให้  ผู้ป่วยและครอบครัว เห็นศักยภาพของตนจะทำให้ “ยอมรับความจริง”    นักสังคมสงเคราะห์ ประเมินผู้ป่วยและครอบครัว “ก่อน”การแจ้งความจริง เพื่อป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น และวางแนวทางการจัดการปัญหาเมื่อบอกความจริงแล้ว อันจะส่งผลให้เกิดการร่วมมือต่อการดูแลรักษาต่อไป  
 
            นักสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ใน'''งานผู้ป่วยโรคติดเชื้อเอช ไอ วี และเอดส์และผู้ได้รับผลกระทบ'''
 
             ผู้ติดเชื้อเอดส์หรือผู้ป่วยเอดส์  ดูแลตนเองได้ ทำงานได้ตามปกติ เมื่อมีการเจ็บป่วย และมีอาการ เอดส์มากขึ้น  จากที่เคยทำงานได้ก็จะเริ่มลดน้อยลง  บางครั้งต้องหยุดงานบ่อย  จนกระทั่งตกงานถูกไล่ออกจากงาน  จากสภาพร่างกายที่ไม่เอื้ออำนวยต่องานอาชีพ  ซึ่งสภาวะดังกล่าวที่เกิดขึ้น จะส่งผลต่อการดำเนินชีวิตเนื่องจากไม่มีรายได้ที่ต้องเลี้ยงดูตนเองและครอบครัว  สภาวะของผู้ติดเชื้อเอดส์  เศร้าหมอง หดหู่  หมดหวัง  สิ้นหวัง ท้อแท้ บางครั้งหรือบางคนอาจคิดทำร้ายตนเอง การฆ่าตัวตายในการจัดบริการต้องใช้เทคนิคในการพูดคุยกับผู้ติดเชื้อมากขึ้น ปัญหาได้กลายเป็นภาระของสังคมที่หลายฝ่ายต้องมาร่วมรับผิดชอบการจัดบริการแก่ผู้ป่วย  การบริการสังคมสงเคราะห์  เป็นกลวิธีการหนึ่งที่ใช้ในการแก้ไขปัญหา และฟื้นฟูสภาพทางกาย  จิต สังคมของผู้ติดเชื้อเอดส์และครอบครัวได้         ทีมสุขภาพ ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องจะต้องร่วมมือในการหาหนทางที่จะจัดบริการ เพื่อให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยโรคเอดส์  ผู้ติดเชื้อเอดส์และครอบครัว อย่างมีประสิทธิภาพที่จะทำให้เขาเหล่านั้น สามารถดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุขและไม่เกิดความรู้สึกที่ถูกสังคมทอดทิ้ง     สำหรับปัญหาผู้ที่ได้รับผลกระทบ การแพร่ระบาดของโรคเอดส์ในครอบครัว ทำให้เด็กที่บิดามารดาติดเชื้อได้รับผลกระทบอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นอกเหนือจากการรักษาพยาบาลแล้ว โรงพยาบาลยังให้ความช่วยเหลือด้านสวัสดิการสังคม เด็กกลุ่มนี้มีจำนวนหนึ่งที่ประสบปัญหาทางสังคม เด็กที่คลอดจากมารดาติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ที่มีผลกระทบต่อกระบวนการรักษาพยาบาลและคุณภาพชีวิต  บทบาทที่สำคัญของนักสังคมสงเคราะห์ คือการพัฒนาเครือข่ายการช่วยเหลือทางสังคม เป็นการพัฒนาการและสนับสนุน การรวมกลุ่มคนที่มีจิตอาสาที่จะเข้าร่วมเรียนรู้และแลกเปลี่ยนการดำเนินงานด้านเอดส์ที่เกี่ยวข้องกับมิติหลากหลาย กลุ่มคนเหล่านี้มาจากต่างองค์กร ต่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับงานเอดส์ทั้งโดยตรงและโดยอ้อม ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานสาธารณสุข หน่วยงานปกครอง หน่วยงานศึกษา องค์กรพัฒนาเอกชน และอื่นๆ ดังนั้น การพัฒนาบุคลากรของเครือข่ายการช่วยเหลือทางสังคม จึงถือว่าเป็นภารกิจหนึ่งที่ต้องดำเนินการ
 
          นักสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ใน'''งานผู้ป่วยสูงอายุ/และโรคเรื้อรัง''' 
 
          - สภาพปัญหาของผู้สูงอายุ  ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีปัญหาสุขภาพและสังคมมากกว่าหนึ่งปัญหา ปัญหาต่างๆ ของผู้สูงอายุมีความคล้ายคลึงกัน ยากที่จะแยกออกจากกันเป็นส่วนๆ สาเหตุของปัญหาอาจเกิดจากพยาธิสภาพและกระบวนการเปลี่ยนแปลงจากความสูงอายุ  การดูแลที่เหมาะสมคือการให้ความสำคัญกับปัญหาที่เกี่ยวข้องทั้งหมด การพิจารณาถึงความก้าวหน้าในการบำบัดรักษา จะต้องประเมินปัญหาทั้งหลายร่วมกัน    ผลที่ตามมาของปัญหาหนึ่งอาจกระทบต่อปัญหาอื่น  (ศ.ศศิพัฒน์ ยอดเพชร คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์,2552) นอกจากนี้  ผู้สูงอายุ ที่เผชิญปัญหาซับซ้อนทางกายและสังคม เช่น สมองเสื่อม โรคทางจิตเวช  มีภาวะ ซึมเศร้า โรคทางกายเรื้อรัง เช่นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิต และขาดผู้ดูแล นักสังคมสงเคราะห์ทำหน้าที่สร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้แก่ครอบครัว เพื่อการดูแลทางสังคม จิตใจที่ถูกต้อง เหมาะสม
 
                 - ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่ไม่สามารถมารับการรักษาต่อเนื่อง ถูกทอดทิ้ง สร้างความรู้สึกที่เป็นภาระต่อ
 
ญาติ ไม่สามารถกลับไปใช้ชีวิตอย่างปกติสุข หรือผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ถูกทอดทิ้งจากครอบครัว กลายเป็นผู้ป่วยไร้ญาติ ไม่ได้รับการพัฒนาทางกาย จิต สังคมอย่างเหมาะสม บางรายถูกทอดทิ้งในโรงพยาบาลเป็นเวลานาน โดยขาดการเหลียวแลจากญาติและครอบครัว ทำให้ไม่สามารถมีชีวิตที่เป็นปกติ ไม่สามารถประกอบอาชีพหรือดำเนินชีวิตแบบพึ่งตนเองโดยลำพังได้ นักสังคมสงเคราะห์ทำหน้าที่ในการติดตามญาติและครอบครัว เพื่อสร้างความเข้าใจในการยอมรับผู้ป่วย และมีส่วนร่วมในการพัฒนาหรือฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วย และเตรียมความพร้อมให้ผู้ป่วยกลับคืนสู่ครอบครัวได้อย่างมีความสุข
 
นักสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ใน'''งานผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง'''
 
'''การล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง''' (Continuous Ambulatory Peritoneal Dialysis หรือ CAPD) เป็นวิธีการดูแลรักษาผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการยอมรับวิธีหนึ่ง ซึ่งผู้ป่วยไตวายเรื้อรังสามารถทำได้ด้วยตนเองที่บ้าน   ผู้ป่วย CAPD ต้องดำรงชีวิตอยู่กับสภาพความเจ็บป่วยที่ต่อเนื่องและยาวนาน ในผู้ป่วย CAPD จำเป็นต้องมีการดูแลตนเองเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน แม้ว่าทีมสหวิชาชีพอื่น เช่น แพทย์ พยาบาล นักโภชนาการ ฯลฯ จะช่วยเหลือผู้ป่วยให้มีความรู้ ความเข้าใจ วิธีการดูแลตนเอง แต่การดูแลตนเองของผู้ป่วยจำเป็นต้องอาศัยความเข้มแข็งภายในจิตใจและการสนับสนุนของครอบครัว การใช้ชีวิตโดยมีอุปกรณ์ทางการแพทย์ติดอยู่กับตัวตลอดชีวิต จำเป็นต้องดูแลตัวเองอย่างเคร่งครัด นอกจากนี้ยังมีบริบททางสังคมอื่นๆ อีกเช่น การต้องมีผู้ช่วยในการล้างไต (Care giver) ซึ่งอาจเป็นสมาชิกในครอบครัวหรือบุคคลนอกครอบครัว ด้านการประกอบอาชีพ รายได้ และสวัสดิการต่างๆ ผู้ป่วย CAPD ส่วนมากไม่แข็งแรงพอที่จะประกอบอาชีพหรือล้างไตทางช่องท้องด้วยตัวเอง  จำเป็นต้องมีผู้ช่วย ผู้อุปการะ หรือ ได้รับสวัสดิการเพียงพอ เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตปกติสุข สมาชิกในครอบครัวต้องเข้าใจวิธีการดูแล เอาใจใส่ และเป็นกำลังใจให้ผู้ป่วย การสนับสนุนให้ผู้ป่วยสามารถดำรงชีวิตในบ้านโดยมีอุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก หรือ การปรับสภาพบ้านให้เอื้อต่อการใช้ชีวิตของผู้ป่วย รวมทั้งการใช้ชีวิตนอกบ้าน การออกสู่สังคม การผ่อนคลาย การนันทนาการ ซึ่งสิ่งเหล่านี้หมายถึงคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคไต ดังนั้น ผู้ป่วย CAPD จึงต้องมีสภาพจิตใจที่เข้มแข็งและมีระบบสนับสนุนทางสังคมที่เอื้อต่อการดำรงชีวิตระยะเวลาหนึ่งที่ยาวนานเพียงพอจนกระทั่งสามารถทำหน้าที่ทางสังคมได้ตามสมควร
 
          นักสังคมสงเคราะห์ จึงมีบทบาทสำคัญในกระบวนการเสริมสร้างความเข็มแข็ง และ การสร้างระบบการสนับสนุนทางสังคมสำหรับผู้ป่วยและครอบครัว โดยวิธีการการประเมินปัญหาและความต้องการ (Problem and Need Assessment) การประเมินความพร้อมของครอบครัวในการดูแล (Family Assessment) การจัดบริการร่วมกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น โรงพยาบาล พมจ. องค์กรเครือข่ายผู้ป่วยโรคไต เป็นต้น การวิเคราะห์และวางแผนการจัดบริการเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและเสริมสร้างระบบสนับสนุนให้เกิดการดูแลตนเอง การดูแลโดยกลุ่ม รวมทั้งการจัดหาทรัพยากร เพื่อสนับสนุนให้ให้ผู้ป่วยอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม ทั้งนี้เนื่องจากสภาพปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วย CAPD นั้นมีความซับซ้อน ลำพังหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งไม่สามารถให้การช่วยเหลือได้เพียงพอและครอบคลุมปัญหาทั้งหมดของผู้รับบริการ เพื่อการจัดบริการที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้รับบริการ             
 
นักสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ใน'''งานหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า'''
 
            แม้ว้าประเทศไทยจะมีนโยบายเรื่องหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ยังมีผู้ป่วยที่ปัญหาการใช้สิทธิในระบบประกันสุขภาพ ดังนั้นนักสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์จึงต้องดำเนินการให้ประชาชนมีหลักประกันสุขภาพตามสิทธิที่พึงได้รับ บริหารจัดการและพัฒนาระบบประกันสุขภาพ พิทักษ์และ คุ้มครองสิทธิ์ผู้รับบริการในระบบประกันสุขภาพ  ตลอดจนพิทักษ์สิทธิและคุ้มครองผู้รับบริการด้านสาธารณสุขตามสิทธิที่พึงได้ตามกฎหมาย  และ รับเรื่องราว/แก้ไขปัญหาข้อร้องเรียน และการเจรจาไกล่เกลี่ย  นักสังคมสงเคราะห์ดำเนินการจัดระบบการให้บริการแก่ผู้มีหลักประกันสุขภาพต่างๆ ให้ได้รับสิทธิประโยชน์ที่พึงได้รับ รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาระบบประกันสุขภาพต่างๆ เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการสาธารณสุข ตามสิทธิอย่างอย่างเสมอภาคและเหมาะสม โดยครอบครัวผู้มีหลักประกันสุขภาพ  การจัดระบบการให้บริการแก่ผู้มีหลักประกันสุขภาพถ้วนต่างๆ  และครอบครัว รวมทั้งประชาชนทั่วไป  ให้ได้รับสิทธิประโยชน์ที่พึงได้รับ รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาระบบประกันสุขภาพ ให้ประชาชนได้เข้าถึงบริการสาธารณสุขตามสิทธิอย่างเสมอภาค  และเป็นธรรม โดยผสมผสานวิธีการทางสังคมสงเคราะห์ (Social  Work Integrated  Method)   ในการปฏิบัติงานแต่ละขั้นตอนอย่างเหมาะสม
 
=== '''ขั้นตอนการดำเนินการ''' ===
 
๑ รับเรื่อง ศึกษาข้อมูล หาข้อเท็จจริง ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลทางสังคมของผู้ป่วย รวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ สังเกตพฤติกรรมของผู้ป่วย ข้อมูลส่วนตัวของครอบครัว การเจ็บป่วย และความสัมพันธ์ของบุคคลในครอบครัวจากผู้ป่วย ญาติ และทีมสหวิชาชีพ รวมทั้งหาข้อมูลจากการเยี่ยมบ้าน
 
          1.1  ร่วมเยี่ยมผู้ป่วยร่วมกันในลักษณะทีมสหวิชาชีพ
 
        1.2 รวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ สังเกตพฤติกรรมของผู้ป่วย ข้อมูลส่วนตัวของครอบครัว การเจ็บป่วย และความสัมพันธ์ของบุคคลในครอบครัวจากผู้ป่วย ญาติ และทีมสหวิชาชีพ
 
๒ ขั้นประเมินและวินิจฉัยปัญหา         
เส้น 135 ⟶ 129:
๓..๑วางแผนให้บริการช่วยเหลือตามลำดับความสำคัญของปัญหา การจัดการรายกรณี ประชุมทีมสหวิชาชีพในกระบวนการรักษาผู้ป่วย
 
๓.๒วางแผนส่งผู้ป่วยกลับไปอยู่ที่บ้านหรือในชุมชน ในกรณีที่มีปัญหาทางสังคมยุ่งยากซับซ้อน มีการเตรียมความพร้อมของครอบครัวและชุมชนก่อนส่งกลับเพื่อป้องกันการเจ็บป่วยซ้ำ การ

ถูกทอดทิ้ง รวมทั้งการสร้างความเข้าใจร่วมกับชุมชนในการอยู่ร่วมกัน ประชุมทีมสหวิชาชีพร่วมในกระบวนการรักษาผู้ป่วย
 
๓.๓ เตรียมทรัพยากรทางสังคมในการช่วยเหลือ
เส้น 143 ⟶ 139:
๔.๑ ช่วยเหลือและจัดบริการทางสังคมสงเคราะห์ตามแนวทางที่กำหนดไว้ 
 
๔.๒ประสานงานในการช่วยเหลือและส่งต่อการส่งต่อบริการ  กรณีที่ไม่สามารถดำเนินการได้ในหน่วยงานโรงพยาบาลต้องส่งต่อหน่วยงานภายนอกที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้านตามกลุ่มเป้าหมายเป้า

หมายทางสังคมสงเคราะห์  เช่น พนักงานคุ้มครองเด็ก หน่วยงานบริการทางสังคมผู้สูงอายุ  หน่วยบริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนงานทุพพลภาพ หน่วยงานสงเคราะห์เด็กกำพร้าด้อยโอกาส

สถานสงเคราะห์ไร้ที่พึ่ง สำนักงานยุติธรรมจังหวัด บ้านพักฉุกเฉิน สถาบันพัฒนาเด็ก ฯลฯ  เป็นต้น  
 
๕ บันทึกข้อมูลกิจกรรมให้บริการตามแบบบันทึกข้อมูลการให้บริการสังคมสงเคราะห์(สค ๑)
 
   ติดตามผลและประเมินผลการให้บริการ           
 
บริการสังคมสงเคราะห์ชุมชนและครอบครัว