ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัฏจักรกรดซิตริก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link FA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Athaphon ph (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มรายละเอียด
บรรทัด 5:
* การผลิตอะเซติลโคเอ โดยเปลี่ยน[[ไพรูเวต]]ไปเป็นอะเซติลโคเอนไซม์ เอ ปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ 1 โมเลกุล
* ปฏิกิริยาการออกซิเดชั่นของอะเซติลโคเอในวัฏจักรเครบส์ เกิดขึ้น 8 ขั้นตอนดังนี้
ปฏิกิริยาที่ 1 แอซิติลโคเอนไซม์ เอ จะรวมตัวกับกรดออกซาโลแอซิติกและน้ำ เป็นกรดซิตริก โดยอาศัยการเร่งการเกิดปฏิกิริยาของเอนไซม์ซิเตรตซินเทส (Citrate synthase)
** การสร้าง[[ซิเตรต]] (citrate) ซึ่งมีคาร์บอนจำนวน 6 อะตอม โดยการรวมตัวของอะเซติลโคเอนไซม์ เอ (คาร์บอน 2 อะตอม) กับ[[ออกซาโลอะซีเตต]] (oxaloacetate) (คาร์บอน 4 อะตอม) และปล่อยโคเอนไซม์ เอ เป็นอิสระ
 
** การสร้าง [[ไอโซซิเตรต]] (isocitrate) โดยเปลี่ยนซิเตรตไปเป็น[[อะโคนิเตต]] (aconitate) จากนั้นจึงเปลี่ยนต่อไปเป็นไอโซซิเตรต
ปฏิกิริยาที่ 2 กรดซิตริกสูญเสียน้ำไป และกลายเป็นกรดซิสแอคอนิติก (Cisaconitic acid) โดยอาศัยการเร่งปฏิกิริยาของเอนไซม์ซิสแอคอนิเตส (Cisaconitase) แล้วกรดซิสแอคอนิติก รวมตัวกับน้ำเปลี่ยนไปเป็นกรดไอโซซิตริก (Isocitric acid) โดยอาศัยเอนไซม์ตัวเดิม
** เปลี่ยนไอโซซิเตรตเป็น[[อัลฟา-คีโตกลูตาเรต]] (α-ketoglutarate) (คาร์บอน 5 อะตอม) ได้ NADH + H+ 1 โมเลกุลและปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ 1 อะตอม
 
** เปลี่ยนอัลฟา-คีโตกลูตาเรตเป็นซักซินิลโคเอนไซม์ เอ (succinyl –CoA) (คาร์บอน 4 อะตอม) และปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ 1 ตัว และ NADH + H+ 1 อะตอม
 ปฏิกิริยาที่ 3 กรดไอโซซิตริกถูกเปลี่ยนเป็นกรดแอลฟา-คีโตกลูตาริก (α-Ketoglutaric acid) ในปฏิกิริยานี้มีการสร้าง NADH + H<sup>+</sup> จาก NAD<sup>+</sup> และมีการดึง CO<sub>2</sub> ออกด้วย เอนไซม์ที่เร่งปฏิกิริยาของขั้นตอนนี้คือ ไอโซซิเตรตดีไฮโดรจีเนส (Isocitrate dehydrogenase)
** เปลี่ยนซักซินิลโคเอไปเป็น[[ซักซิเนต]] (succinate) ได้ GTP 1 โมเลกุล
 
** เปลี่ยนซักซิเนตไปเป็น[[ฟูมาเรต]] (fumarate) ได้ FADH2 1 โมเลกุล
ปฏิกิริยาที่ 4 กรดแอลฟา-คีโตกลูตาริกจะทำปฏิกิริยากับโคเอนไซม์ เอ กลายเป็น   ซักซินิลโคเอนไซม์ เอ (Succinyl CoA) ในขั้นตอนนี้มีการสร้าง CO<sub>2</sub> และ NADH + H<sup>+</sup> จาก NAD<sup>+</sup> ด้วย เอนไซม์ที่ทำหน้าที่เร่งการเกิดปฏิกิริยาในขั้นตอนนี้คือ เอนไซม์แอลฟา-คีโตกลูตาเรต ดีไฮโดรจีเนส (α-Ketoglutarate dehydrogenase)
** เปลี่ยนฟูมาเรตเป็นมาเลต (malate) โดยมีการเข้าร่วมของน้ำ
 
** เปลี่ยนมาเลตไปเป็นออกซาโลอะซีเตต ได้ NADH + H+ 1 โมเลกุล ออกซาโลอะซีเตตนี้จะไปรวมกับอะเซติลโคเอนไซม์ เอ วนเข้าสู่วัฏจักรรอบใหม่ต่อไป
ปฏิกิริยาที่ 5 สารซักซินิลโคเอนไซม์ เอ เป็นสารที่มีพลังงานสูง เมื่อแตกตัวเป็น   กรดซักซินิกจะมีการปลดปล่อยพลังงานออกมาสร้าง GTP ได้ 1 โมเลกุล (เทียบเท่า ATP 1 โมเลกุล) โดยการเร่งปฏิกิริยาของเอนไซม์ซักซินิลโอเอนไซม์ เอ ซินเทส (Succinyl CoA synthase) ปฏิกิริยานี้มีการเติม H<sub>2</sub>O จำนวน 1 โมเลกุล
 
ปฏิกิริยาที่ 6 กรดซักซินิกจะปล่อย 2H ให้แก่ FAD ได้เป็น FADH<sub>2</sub> และกรดซักซินิกจะเปลี่ยนเป็นกรดฟิวมาริก (Fumaric acid) โดยมีเอนไซม์ซักซิเนตดีไฮโดรจีเนส (Succinate     dehydrogenase) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
 
ปฏิกิริยาที่ 7 กรดฟิวมาริกถูกเติม H<sub>2</sub>O 1 โมเลกุล ได้ผลิตภัณฑ์เป็นกรดมาลิก (Malic acid) โดยมีเอนไซม์ฟิวมาเรส (Fumarase) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
 
ปฏิกิริยาที่ 8 กรดมาลิกสูญเสีย 2H ให้แก่ NAD<sup>+</sup> ได้ผลิตภัณฑ์เป็น  NADH + H<sup>+</sup> และกรดออกซาโลแอซีติก โดยมีเอนไซม์มาเลตดีไฮโดรจีเนส (Malate dehydrogenase) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา กรดออกซาโลแอซิติกที่ได้จากปฏิกิริยาในขั้นตอนนี้จะไปรวมตัวกับแอซิติลโคเอนไซม์ เอ แล้วกลับเข้าสู่วัฏจักรเครปส์ในรอบถัดๆไป 
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}