ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรีสซี คาเฟ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Zzaii (คุย | ส่วนร่วม)
รวบรวมข้อมูลจากศิลปินโดยตรง
บรรทัด 2:
{{รวม|อภิชัย ตระกูลเผด็จไกร}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''กรีสซี่ คาเฟ่''' ([[ภาษาอังกฤษแบบบริติช|อังกฤษ]]: Greasy Cafe) หรือ [[อภิชัย ตระกูลเผด็จไกร]] เป็นศิลปินและนักแต่งเพลงชายชาว[[ประเทศไทย|ไทย]]ภายใต้สังกัด [[สมอลล์รูม|Smallroom]] ตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2542]] เขามีผลงานอัลบั้มเพลงมาแล้ว 3 ชุดคือ สิ่งเหล่านี้ [[พ.ศ. 2551]] ทิศทาง [[พ.ศ. 2552|พ.ศ.2552]] และ The Journey without Maps พ.ศ. 2555 อภิชัยมีคอนเสิร์ตใหญ่ของตัวเองมาแล้ว 2 ครั้งคือ Greasy Cafe: Untill Tomorrow ที่สนามกีฬาจรัญ บุรพรัตน์ [[กรุงเทพมหานคร|กรุงเทพฯ]] และ  Greasy Cafe: Untill Tomorrow Home ที่เขากะโหลก [[จังหวัดประจวบคีรีขันธ์|จังหวัดประจวบคิรีขันธ์]][[ไฟล์:GreasyCafe, ชมรมวิจารณ์บันเทิง.jpeg|thumbnail|right|รางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง]]
{{กล่องข้อมูล นักดนตรี
| ภาพ = ApichaiTGreasyCafe.jpg ‎
| ชื่อ = Greasy Cafe
| color =
| เครื่องดนตรี = นักร้องนำ กีตาร์ เบส กลอง
| แนวเพลง = ฟอล์ค ร็อค
| ช่วงปี =
| ค่าย = สมอลล์รูม
| ส่วนเกี่ยวข้อง =
| เว็บ =
| สมาชิก = [[อภิชัย ตระกูลเผด็จไกร]]
| อดีตสมาชิก =
}}
 
== ประวัติ ==
'''อภิชัย ตระกูลเผด็จไกร''' หรือ เล็ก "[[Greasy Cafe]]" (กรีซซี่ คาเฟ่) เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง ช่างภาพนิ่งภาพยนตร์ และนักแสดง
ผลงานของ Greasy Cafe โดดเด่นที่แนวดนตรีซึ่งได้รับอิทธิพลจากวงทางฝั่ง[[ประเทศอังกฤษ|อังกฤษ]] ส่วนเนื้อหาของเพลงที่พูดถึงความรักที่ไม่อยู่ในขนบ เล่าเรื่องความหม่นเศร้าในความสัมพันธ์ จากมุมมองของผู้ชายผู้ผ่านประสบการณ์ซึ่งฉีกจากแนวทางการเขียนเนื้อเพลงรักทั่วไป เพลงที่ถูกปล่อยเป็นซิงเกิลแรกจากอัลบั้ม [[สิ่งเหล่านี้ (อัลบั้ม)|สิ่งเหล่านี้]] และเป็นเพลงที่ทำให้คนรู้จัก Greasy Cafe ครั้งแรกคือ ฝืน ซึ่งขึ้นอันดับหนึ่งของชาร์ตเพลงคลื่นวิทยุ [[Fat Radio]] เพลงต่อมาที่ถูกตัดเป็น[[ซีดีซิงเกิล|ซิงเกิล]]ล้วนได้รับการพูดถึงแทบทั้งสิ้น เช่น ความบังเอิญ, อุบัติเหตุ, สิ่งเหล่านี้ ฯลฯ Greasy Cafe ได้รับรางวัลดนตรีจากหลายสถาบัน เช่น รางวัลศิลปินชายเดี่ยวยอดเยี่ยม [[คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 6|คมชัดลึกอวอร์ดครั้งที่ 6]], [[แฮมเบอร์เกอร์ (นิตยสาร)|Hamburger]] Awards ครั้งที่ 6 และ [[Fat Awards 9]] สองอัลบั้มหลังคือ [[ทิศทาง (อัลบั้ม)|ทิศทาง]] และ [[The Journey without Maps (อัลบั้ม)|The Journey without Maps]]ต่างมีผลงานที่โดดเด่นและมีผลตอบรับที่ดี เช่น ภายใต้ท้องฟ้าสีดำ จากอัลบั้ม ทิศทาง เพลงรักที่ได้แรงบันดาลใจจากความรักระหว่างคนตาบอด, หมุน จากอัลบั้ม [[The Journey without Maps (อัลบั้ม)|The Journey without Maps]] เพลงที่พูดถึงความสัมพันธ์ระยะไกลและความทรมานในการรอคอย มิวสิควีดีโอเพลงนี้ซึ่งกำกับโดย [[นวพล ธำรงรัตนฤทธิ์]]  ได้รับการพูดถึงทั้งกับสื่อมวลชนและโซเชียลมีเดีย นอกจากนี้ภาษาที่อภิชัยใช้ในเนื้อเพลงยังมีเอกลักษณ์และมีส่วนทำให้เขาได้ร่วมงานแต่งเพลงให้ศิลปินคนอื่นๆ เช่น Jida ในอัลบั้ม Boyfriend เพลง แสงของไฟ ค่าย [[สมอลล์รูม|Smallroom]] และ [[อีฟ ปานเจริญ|Palmy]] ในอัลบั้ม 5 เพลง ทุ่งสีดำ, Butterfly และ Private Sky  
== ประวัติ==
[[ไฟล์:GreasyCafe, Melody of life2013.jpg|thumbnail|right|งาน Melody of Life ปี 2013]]
[[ไฟล์:GreasyCafe, Infinity pub.jpg|thumbnail|right|งาน Zaap party ผับ Infinity เชียงใหม่]]
อภิชัยเกิดที่ย่านเมืองเก่าของกรุงเทพฯ ในครอบครัวเย็บหมวกกีฬาที่มีพ่อและแม่เป็นชาวจีนแท้ๆ เรียนชั้นประถมศึกษากับโรงเรียนประสาทวุฒิ ซึ่งเป็นโรงเรียนภาษาไทยและจีน เรียนต่อมัธยมศึกษาที่โรงเรียนเพชรรัตน์ และจบศึกการศึกษาระดับปวช. ที่[[โรงเรียนไทยวิจิตรศิลป]] จากนั้นได้มีโอกาสไปเรียนภาษา เรียนถ่ายภาพที่ประเทศอังกฤษ และใช้เวลาอยู่ที่นั่นเป็นเวลา 4 ปี โดยระหว่างเรียนได้ไปเป็นมือกีตาร์ให้กับวง The Light กับเพื่อนนักดนตรีชาวอังกฤษ มีโอกาสได้แสดงโชว์ตามเมืองต่างๆเป็นระยะเวลาหนึ่ง เมื่อกลับมาเมืองไทยก็เอาดีกับอาชีพช่างภาพนิตยสาร และช่างภาพนิ่งภาพยนตร์ให้กับภาพยนตร์ทั้งไทยและนอก อาทิ จันดารา มนต์รักทรานซิสเตอร์ เดอะเลตเตอร์ โอเค เบตง อารมณ์ อาถรรพ์ อาฆาต ปืนใหญ่จอมสลัด องค์บาก 2 ฯลฯ
 
ด้วยประสบการณ์และเอกลักษณ์ในงานเพลงทำให้ Greasy Café ได้รับการชื่นชมและยกย่อง ทั้งจากแฟนเพลง นักดนตรี สื่อมวลชนและนักวิจารณ์จำนวนมาก ผลงานของเขาได้ทั้งเข้าชิงและได้รับรางวัลทางดนตรี 13 สถาบันชั้นนำ เช่น รางวัลศิลปินชายเดี่ยวยอดเยี่ยม [[คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 6|คมชัดลึกอวอร์ด ครั้งที่ 6]] จากอัลบั้ม สิ่งเหล่านี้ เข้าชิงรางวัลศิลปินชายเดี่ยวยอดเยี่ยม [[Fat Awards 11]] จากอัลบั้ม ทิศทาง รางวัลอัลบั้มยอดเยี่ยม [[แชนแนลวีไทยแลนด์|Channel [V] Thailand]] เมโลสโมสร จากอัลบั้ม The Journey without Maps ฯลฯ
ในปีพ.ศ. 2544 ได้เริ่มทำงานเพลงกับค่ายสมอลล์รูมโดยได้แต่งเนื้อร้อง ทำนองเองทั้งหมด ในอัลบั้ม Smallroom 001 อัลบั้มรวมเพลงเปิดตัวของค่ายสมอลล์รูม เริ่มต้นเป็นที่รู้จักจากผลงานเพลง "หา (Quest?)" ในอัลบั้มนั้น ก่อนจะกลับมาอีกครั้งกับซิงเกิล "พบ (Pop)" ในอัลบั้ม Smallroom 002 (พ.ศ. 2544) หลังจากนั้นต่อมาได้ร่วมงานในโปรเจกต์ "สนามหลวงคอนเนคส์" สังกัด สนามหลวง ในเครือ จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ โดยนำเพลง "เธอรู้รึเปล่า" ของ ใหม่ เจริญปุระ มาเรียบเรียงใหม่
 
นอกจากงานเพลง อภิชัยเคยมีผลงานหนังสือ [http://www.b2s.co.th/products_detail.php?proid=30965&ptitle=The-Destination-from-Nowhere The Destination from Nowhere] ใน[[พ.ศ. 2554|ปีพ.ศ. 2554]] ซึ่งเป็นงานเขียนที่รวบรวมเกร็ดความคิดจากสมุดบันทึกและเป็นวัตถุดิบในการทำงานเพลงของเขา อภิชัยยังเคยแสดงนำในภาพยนตร์ แต่เพียงผู้เดียว [[พ.ศ. 2554]] และได้รับรางวัลนักแสดงนำยอดเยี่ยมจากสถาบันชั้นนำ อภิชัยยังเคยทำเพลงประกอบภาพยนตร์ [[ตั้งวง]] [[พ.ศ. 2556]] โดย [[คงเดช จาตุรันต์รัศมี]] [[ชัมบาลา (ภาพยนตร์)|ชัมบาลา]] [[พ.ศ. 2555]] โดย[[ปัญจพงศ์ คงคาน้อย]] และ [[imdbtitle:5442474|The Down]] [[พ.ศ. 2558]]
ในปีพ.ศ. 2551 ได้ออกอัลบั้มเต็มชุดแรก "สิ่งเหล่านี้" สังกัด [[สมอลล์รูม]] ในปีพ.ศ. 2551 ซึ่งได้เสนอชื่อเข้าชิง และได้รางวัลมากมาย อาทิ ศิลปินชายยอดเยี่ยม เพลงยอดเยี่ยมแห่งปี ฯลฯ หลังจากกระแสตอบรับเป็นอย่างดีอภิชัยได้ออกอัลบั้มที่ 2 ในปีถัดไปชื่อ "ทิศทาง"
และอัลบั้มที่ 3 ในปีพ.ศ. 2555 ชื่อ "The Journey without Maps"
 
== ชีวิตวัยเด็ก ==
นอกจากนี้อถิชัยยังได้มีโอกาสกลับไปเดินทางสายภาพยนตร์ แต่ในฐานะนักแสดงนำ และนักแต่งเพลงประกอบภาพยนตร์ให้กับภาพยนตร์เรื่อง "แต่เพียงผู้เดียว" กำกับโดย [[คงเดช จาตุรันต์รัศมี]] (ผู้กำกับภาพยนตร์เรื่อง สยิว เฉิ่ม ฯลฯ) ซึ่งได้เสนอชื่อเข้าชิงและได้รับรางวัลมากมาย อาทิ นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม เพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
[[ไฟล์:GreasyCafe, Melody of life2013.jpg|thumbnail|right|งาน Melody of Life ปี 2013]]อภิชัยเกิดที่ย่านเมืองเก่าของกรุงเทพฯ ในครอบครัวเย็บหมวกกีฬาที่มีพ่อและแม่เป็นชาวจีนแท้ๆ เขาใช้ชีวิตวัยเด็กในย่านวรจักร เรียนชั้นประถมศึกษากับโรงเรียนประสาทวุฒิ ซึ่งเป็นโรงเรียนภาษาไทยและจีน เรียนต่อมัธยมศึกษาที่โรงเรียนศิริวัฒนาและโรงเรียนเพชรรัตน์ เขาจบศึกการศึกษาระดับปวช. ที่โรงเรียนไทวิจิตรศิลป์ อภิชัยเดินทางไปเรียนด้านการถ่ายภาพที่ประเทศอังกฤษตอนอายุ 21 ปี และใช้ชีวิตอยู่ที่นั่นเป็นเวลาร่วม 4 ปี
[[ไฟล์:GreasyCafe, ชมรมวิจารณ์บันเทิง.jpeg|thumbnail|right|รางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง]]
 
ช่วงเวลาที่เรียนในอังกฤษ อภิชัยได้มีโอกาสเริ่มเล่นดนตรีอย่างจริงจัง ได้รวมวงกับเพื่อนในชื่อ The Light ตระเวนเล่นตามผับขนาดเล็ก วงดนตรีของเขาทำงานได้ไม่นานนักและแยกย้ายไป เขากลับเมืองไทยและทำงานเป็นช่างภาพนิตยสาร เริ่มจากการถ่ายภาพแฟชั่นให้กับนิตยสาร Hyper ก่อนจะหลงใหลในการถ่ายภาพแนวสารคดี งานถ่ายภาพนิตยสารยังทำให้เขารู้จักคนมากขึ้น วันหนึ่งเขามีโอกาสถ่ายภาพวงดนตรีชื่อ [[Crub (วงดนตรี)|Crub]] และได้ทำความรู้จัก รุ่งโรจน์ อุปถัมภ์โพธิวัฒน์ หนึ่งในสมาชิกวงซึ่งกลายมาเป็นเจ้าของค่ายเพลง [[สมอลล์รูม|Smallroom]] ในปัจจุบัน
== ผลงาน ==
=== ภาพนิ่งภาพยนตร์ ===
* พ.ศ..2543 - [[A Fighter's blues]] (ฮ่องกง)
* พ.ศ. 2544 - [[จัน ดารา]]
* พ.ศ. 2544 - [[Swiss Family Robinson]] (อังกฤษ)
* พ.ศ. 2544 - [[The Eyes]]
* พ.ศ. 2544 - [[มนต์รักทรานซิสเตอร์]]
* พ.ศ. 2545 - [[พรางชมพู กะเทยประจัญบาน]]
* พ.ศ. 2547 - [[The Letter]]
* พ.ศ. 2545 - [[อารมณ์ อาถรรพณ์ อาฆาต]]
* พ.ศ. 2546 - [[โอเค เบตง]]
* พ.ศ. 2548 - [[วัยอลวน 4 : ตั้ม-โอ๋ รีเทิร์น]]
* พ.ศ. 2548 - [[ก็เคยสัญญา]]
* พ.ศ. 2551 - [[ปืนใหญ่จอมสลัด]]
* พ.ศ. 2551 - [[องค์บาก 2]]
* พ.ศ. 2553 - [[องคุลีมาล]]
 
อภิชัยเริ่มทำงานถ่ายภาพนิ่งในกองถ่ายภาพยนตร์ ภาพยนตร์เรื่องแรกที่เขาถ่ายคือ [http://www.imdb.com/title/tt0277558/?ref_=fn_al_tt_1 A Fighter’s Blues] ยุคนั้นหน้าที่ของช่างภาพนิ่งกองถ่ายคือการถ่ายภาพส่งตามสื่อเพื่อประชาสัมพันธ์หนัง แต่อภิชัยมองว่าบรรยากาศในกองถ่ายน่าสนใจไม่แพ้ตัวหนัง โดยเฉพาะเมื่อมองถอยออกมามองสิ่งที่กำลังเกิดขึ้นนอกจอมอนิเตอร์ ผลงานภาพถ่ายของเขาจึงมักเล่าเรื่องทีมงานซึ่งเป็นสิ่งที่คนดูไม่เคยเห็น
{{col-begin}}
{{col-2}}
 
อภิชัยมีโอกาสได้ถ่ายภาพเบื้องหลังภาพยนตร์ไทยอีกหลายเรื่อง เช่น [[จัน ดารา (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2544)|จันดารา]], [[มนต์รักทรานซิสเตอร์]], [[เดอะเลตเตอร์ จดหมายรัก|The Letter]] จดหมายรัก, [[โอเค เบตง]], [[อารมณ์ อาถรรพณ์ อาฆาต|อารมณ์ อาถรรพ์ อาฆาต]], [[ปืนใหญ่จอมสลัด]], [[องค์บาก 2]] ฯลฯ ซึ่งในช่วงเวลาเดียวกันเขามีโอกาสได้พบกับ[[รุ่งโรจน์ อุปถัมภ์โพธิวัฒน์|รุ่งโรจน์]]และได้กลับมาทำงานเพลงอีกครั้ง จนเป็นจุดเริ่มต้นของการเป็นศิลปินเพลงในชื่อ Greasy Cafe เต็มตัว
=== อัลบั้ม ===
* พ.ศ. 2551 - [[สิ่งเหล่านี้]]<br>
1.ถ้ามี <br>
2. อุบัติเหตุ <br>
3. ภาพชินตา<br>
4. ความบังเอิญ<br>
5. ฝืน<br>
6. ไฮซินท์<br>
7. คำสามคำ<br>
8. ไม่มีวันกลับมา<br>
9. เกษมสำราญ <br>
10. สิ่งเหล่านี้<br>
 
== ผลงานเพลง ==
* พ.ศ. 2552 - [[ทิศทาง]]<br>
1. คำตอบ<br>
2. สูญ<br>
3. เรื่องธรรมดา<br>
4. ความเลือนลาง<br>
5. ภาพของเรา<br>
6. ความจริง<br>
7. แรงดึงดูด<br>
8. ทิศทาง<br>
9. หยดน้ำ<br>
10. ภายใต้ท้องฟ้าสีดำ<br>
11. ธันวา<br>
12. สุดท้าย<br>
 
=== Smallroom 001-002 (พ.ศ.2543) ===
* พ.ศ. 2555 - [[The Journey without Maps]]<br>
เพลงแรกที่อภิชัยใช้ชื่อ Greasy Cafe ในการทำงาน คือเพลง [[หา(Quest?)]] อัลบั้มคอมพลิเอชัน [[Smallroom 001]] [[รุ่งโรจน์ อุปถัมภ์โพธิวัฒน์|รุ่งโรจน์]]เจ้าของค่ายเพลง [[สมอลล์รูม|Smallroom]] ได้แรงบันดาลใจจากอัลบั้มรวมเพลงจากหลายศิลปินในต่างประเทศ โดยแต่ละชุดจะมีคอนเซปต์ธีมต่างกัน ศิลปินที่รุ่งโรจน์ชวนมาร่วมงานมีทั้งวงดนตรีอาชีพ คนทำดนตรีเบื้องหลัง และคนในวงการซึ่งไม่เคยทำเพลงมาก่อน
1. ปล่อย<br>
2. อุบัติการณ์ <br>
3. ดิ่ง<br>
4. หมุน <br>
5. ประโยคบอกเล่า <br>
6. ปฏิกิริยา <br>
7. ร่องน้ำตา <br>
8. สิ่งใดๆ <br>
9. เมฆใต้น้ำ <br>
10. อาณาเขต <br>
11. ป่าสนในห้องหมายเลข 1 <br>
12. ละอองแสง <br>
13. เงาของฝน<br>
{{col-2}}
 
อภิชัยเคยให้สัมภาษณ์ว่าไม่มีเหตุผลในการตั้งชื่อ Greasy Cafe เป็นพิเศษ คำนี้แปลว่าร้านอาหารที่ขายอาหารจานด่วน ส่วนมากเป็นอาหารแบบทอดที่ทำไม่ยากและมีจำนวนมากในอังกฤษ เหตุผลที่อภิชัยตั้งชื่อนี้เพราะเขาคิดว่าเพลงของเขาก็ไม่ต่างจากร้านแนว Greasy Cafe ซึ่งมีลูกค้าหลายรูปแบบ ตั้งแต่ชนชั้นแรงงานไปจนถึงผู้บริหาร เหมือนกับเพลงของอภิชัยที่ไม่ถูกจัดอยู่ในหมวดไหน ไม่ว่าวัยรุ่นหรือผู้ใหญ่แต่เป็นเพลงที่ใครก็ฟังได้
=== อัลบั้มรวมเพลง ===
* พ.ศ. 2542 - เพลง หา, [[อัลบั้ม Smallroom 001]]
* พ.ศ. 2544 - เพลง พบ, [[อัลบั้ม Smallroom 002]]
* พ.ศ. 2544 - เพลง a day, [[อัลบั้ม a day Red Label]]
* พ.ศ. 2550 - เพลง เธอรู้รึเปล่า, [[อัลบั้ม Sanamluang connects by Nokia 5700 XpressMusic Part 02]]
* พ.ศ. 2552 - เพลง เงินล้าน, [[อัลบั้ม Fatcode 9]]
* พ.ศ. 2553 - [[อัลบั้ม Panoramic, TheBook with Sound]]
* พ.ศ. 2554 - เพลง ฤดูร้อน, [[อัลบั้ม The Love Scene]]
 
อภิชัยยังใช้ชื่อ Greasy Cafe ทำเพลงในชุด [[Smallroom 002]] เพลง พบ หลังจากนั้นรุ่งโรจน์ยังชวนอภิชัยทำเพลงเป็นระยะ เช่น ทำเพลงในโครงการสนามหลวงคอนเนคส์ สังกัด [[สนามหลวงมิวสิก|สนามหลวง]] ในเครือ [[จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ อินเตอร์เนชันแนล|จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่]] โดยนำเพลง เธอรู้รึเปล่า ของ [[ใหม่ เจริญปุระ]] มาเรียบเรียงใหม่ เมื่อถึงเวลาที่เหมาะสมรุ่งโรจน์จึงชวนอภิชัยมาทำอัลบั้มเต็ม จนเกิดเป็นอัลบั้มแรก [[สิ่งเหล่านี้ (อัลบั้ม)|สิ่งเหล่านี้]] ในปี[[พ.ศ. 2551]]
=== EP ===
* พ.ศ. 2553 - ระยะ
* พ.ศ. 2554 - ฝืน
* พ.ศ. 2555 - [[The Journey without Maps Teaser]]
 
=== สิ่งเหล่านี้ (พ.ศ.2551) ===
{{col-end}}
[[รุ่งโรจน์ อุปถัมภ์โพธิวัฒน์|รุ่งโรจน์]]เป็นคนแนะนำให้อภิชัยทำเพลงอัลบั้มนี้ร่วมกับ [[รัฐ พิฆาตไพรี]] (นามแฝงว่า Ruzzy) มือกีตาร์วง [[แทตทูคัลเลอร์|Tattoo Colour]] ทุกเพลงในอัลบั้มคือเพลงที่อภิชัยแต่งในช่วงกลับมาอยู่ประเทศไทยและนำมาเรียบเรียงใหม่อภิชัยใช้เวลาทำอัลบั้มนี้ประมาณ 3 เดือน ช่วงแรกเขาอยากให้เพลงในอัลบั้มเน้นการใช้กีตาร์โปร่งเป็นหลัก การทำงานก็มักเริ่มจากการเล่นกีตาร์โปร่งและร้อง อภิชัยยังอัดเครื่องดนตรีบางส่วน เช่น เสียงเบส กีตาร์ไฟฟ้า และกลองในเพลง ความบังเอิญ จากนั้นรัฐจะเป็นผู้เรียบเรียงและแนะนำการใช้เสียงที่ต่างจากกีตาร์โปร่งเพื่อให้ดนตรีหลากหลายขึ้น เช่น ช่วยคิดและอัดกีตาร์โซโล่ในเพลง เกษมสำราญ
 
ใน สิ่งเหล่านี้ ยังมีเพลงบรรเลงชื่อ ไฮซินท์ ซึ่งเป็นเพลงที่อภิชัยแต่งระหว่างถ่ายภาพนิ่งภาพยนตร์เรื่อง [[จัน ดารา (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2544)|จันดารา]] (ไฮซินท์เป็นชื่อตัวละครหนึ่งในเรื่อง) มีเพลง ภาพชินตา ซึ่งได้แรงบันดาลใจจากการเสียชีวิตของภรรยาของเพื่อนอภิชัย
 
เพลงแรกที่ถูกตัดเป็นซิงเกิลคือ [[ฝืน (เพลง)|ฝืน]] ตามมาด้วย [[ความบังเอิญ (เพลง)|ความบังเอิญ]] ทั้งสองเพลงแตกต่างจากเพลงแรกๆ ของ Greasy Cafe ในอัลบั้ม Smallroom 001-002 ดนตรีเน้นการใช้เสียงจากเครื่องดนตรีสด จุดเด่นของเพลงในอัลบั้มนี้อยู่ที่การใช้คำซึ่งมีความคล้ายกลอนเปล่าที่เปรียบเปรยความรักความสัมพันธ์กับสิ่งที่อยู่รอบตัว เนื้อหาของเพลงยังแสดงความเป็นกบฎในความคิดที่มีต่อความสัมพันธ์ เพลงที่แสดงจุดเด่นด้านนี้ชัดเจนมากคือเพลง สิ่งเหล่านี้ ซึ่งบอกว่าความรักในอุดมคติกับความรักในโลกความเป็นจริงแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง
 
อภิชัยยังนำภาพถ่ายที่เคยเก็บไว้มาใช้ในการออกแบบปกอัลบั้ม อีกหนึ่งเอกลักษณ์เด่นของอัลบั้มนี้คือ มิวสิควีดีโอเพลง สิ่งเหล่านี้โดย [[ศิวะภาค เจียรวนาลี]] ผลงานชิ้นนี้ไม่ได้มีองค์ประกอบตามขนบมิวสิควีดีโอทั่วไป แต่เน้นการใช้ภาพวาดบนกระดาษเพื่อเล่าเรื่องความรักความสัมพันธ์ในมุมมองของ Greasy Cafe
 
นอกจากนี้ด้วยความที่ทำงานในกองถ่ายมานานทำให้เขาติดการเล่าเรื่องแบบภาพยนตร์ผ่านบทเพลง คือเล่าบรรยากาศโดยรอบก่อนแล้วค่อยโฟกัสไปที่ตัวละคร
 
อัลบั้ม สิ่งเหล่านี้ ได้รับการตอบรับที่ดีจากนักวิจารณ์ อภิชัยได้รับรางวัลทางดนตรีหลายสถาบัน เช่น รางวัลศิลปินชายเดี่ยวยอดเยี่ยม [[คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 6|คมชัดลึกอวอร์ด ครั้งที่ 6]] และ [[Fat awards]] ครั้งที่ 9 เข้าชิงรางวัลศิลปินเดี่ยวร็อคยอดเยี่ยม [[สีสันอะวอร์ดส์|สีสันอวอร์ด ครั้งที่ 23]] ฯลฯ
 
=== ทิศทาง (พ.ศ.2552) ===
ถ้ามองในภาพรวม ผลงานเพลงในอัลบั้ม [[ทิศทาง (อัลบั้ม)|ทิศทาง]] มีความคล้ายอัลบั้มแรกจนเป็นเหมือนภาคต่อของ สิ่งเหล่านี้ แต่เมื่อเจาะลึกในรายละเอียด ทิศทาง เผยให้เห็นการทดลองทางดนตรีใหม่ๆ ของอภิชัย ทั้งการใช้เสียงกีตาร์ที่หลากหลายขึ้น มีเพลงเร็วที่ซับซ้อนและซ่อนรายละเอียดเยอะขึ้น
 
แนวคิดหลักของการทำอัลบั้มนี้คือ อยากให้เพลง[[ร็อก]]ขึ้น เพื่อให้มีตัวเลือกใหม่ๆ สำหรับการเล่นสด โดยที่การเริ่มเพลงยังใช้กีตาร์โปร่งเป็นตัวนำเหมือนเดิม อัลบั้ม ทิศทาง เริ่มต้นทำทันทีหลังจากจบอัลบั้ม สิ่งเหล่านี้ ด้วยความเข้าใจกันจากอัลบั้มที่แล้วทำให้การทำงานระหว่างอภิชัยและรัฐต่อเนื่องและเร็วขึ้น การทำเพลงในอัลบั้มบางช่วงเร็วถึงขั้นทำงานกันเสร็จวันละเพลง
 
ในด้านเนื้อหาเนื้อเพลงของอภิชัยยังมีอารมณ์ความหม่นเศร้าเหมือนเดิม สิ่งที่เพิ่มเข้ามาคือ การเล่าเรื่องความเปลี่ยนแปลงในชีวิต ความไม่มั่นคงและไม่แน่นอนที่ทุกคนต้องเจอ  เพลงที่ได้รับการคัดให้เป็นซิงเกิลแรกคือ ทิศทาง ซึ่งได้แรงบันดาลใจจากการเลิกราของเพื่อนสนิท แสดงให้เห็นจุดเด่นข้อนี้อย่างดีนอกจากนี้อัลบั้มที่สองยังมีเพลงที่น่าสนใจอย่าง คำตอบ ซึ่งอภิชัยได้แรงบันดาลใจการเขียนเพลงมาจากความขัดแย้งทางการเมืองและสังคมไทยในช่วงเปลี่ยนผ่านในปีนั้น เพลง ความจริง ได้แรงบันดาลใจจากชีวิตของนักกีฬายกน้ำหนักทีมชาติไทยที่แพ้ในมหกรรมกีฬาโอลิมปิก เพลง ภายใต้ท้องฟ้าสีดำ ได้แรงบันดาลใจจากชีวิตของคนตาบอด อีกหนึ่งเพลงดังอย่าง ความเลือนลาง แม้จะไม่ได้ถูกคัดเป็นซิงเกิล แต่ก็เป็นหนึ่งในเพลงที่ถูกเล่นสดบ่อยที่สุดของ Greasy Cafe
 
อัลบั้มนี้ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลศิลปินชายยอดเยี่ยม Fat Awards 11 ได้รับรางวัล ศิลปินรุ่นเดอะผู้สร้างแรงบันดาลใจในรอบ 12 ปี The Fat Awards มิวสิควีดีโอเพลง ทิศทาง ยังได้รับรางวัล [V]Awards จี๊ดโดนใจ แชนแนลวีไทยแลนด์มิวสิกวิดีโออวอร์ดส 2011 ครั้งที่ 7 เพลงของเรา
 
=== The Journey without Maps (พ.ศ.2555) ===
หลังจบอัลบั้ม ทิศทาง อภิชัยประสบปัญหาทั้งเรื่องงานและชีวิตส่วนตัว แม้ผลตอบรับและเสียงวิจารณ์จากสองอัลบั้มแรกจะดีแต่รายได้ไม่สามารถเลี้ยงชีวิตในประจำวันได้ ปัจจัยรอบด้านทำให้เขารู้สึกกดดันจนไม่มีสมาธิในเขียนเพลงใหม่ อภิชัยตัดสินใจเปลี่ยนวิถีชีวิตด้วยการเดินทางไปใช้ชีวิตที่ประเทศอังกฤษ โดยที่ไม่กำหนดเวลาว่าจะอยู่นานแค่ไหน เขานำกีตาร์โปร่ง เครื่องบันทึกเสียง และแลปท็อปจากเมืองไทยมาด้วยเพราะหวังว่าจะได้นำมาใช้ทำเพลงระหว่างใช้ชีวิตที่ประเทศอังกฤษ
 
การได้อยู่ในสภาพแวดล้อมใหม่ๆ ทำให้อภิชัยได้แรงบันดาลใจและเริ่มต้นทำเพลงแม้จะมีเครื่องดนตรีติดตัวแค่ชิ้นเดียว เขานำอุปกรณ์ที่อยู่รอบตัวมาใช้เป็นเครื่องมือในการสร้างเสียง เช่น ใช้เสียงผิวปาก ใช้เสียงดนตรีจากแอพพลิเคชันทำเพลงใน iPad ใช้อูคูเลเล่จากเพื่อนร่วมห้องและแอคคอร์เดียนเก่าซึ่งมีในห้องพักมาใช้ทำเพลง เขาตั้งชื่ออัลบั้มนี้ว่า  The Journey without Maps อภิชัยเคยเล่าว่า “เราไม่เคยเชื่อเลยว่า ในการเริ่มต้นคบใครบางคน เค้าเหล่านั้นจะเดินทางมาพร้อมกับแผนที่ในมือ เราไม่มีทางรู้ได้เลยว่า เราจะขึ้นทิศเหนือ ลงใต้ ไปทางซ้าย ขวา หรือเราจะไปกันได้ไกลแค่ไหน และปลายทางจะจบลงที่ใด้”
 
อัลบั้มนี้อภิชัยได้ทดลองทำอะไรใหม่หลายอย่าง เสียงจากเครื่องดนตรีบ้านๆ ที่ใช้ระหว่างทำเพลงที่อังกฤษถูกนำมาใช้จริงทั้งหมด มีเพลง ร่องน้ำตา ซึ่งอภิชัยได้ร้องร่วมกับศิลปินหญิง ญารินดา เป็นครั้งแรก เพลงนี้มิกซ์เสียงร้องของทั้งสองศิลปินในระดับความดังเท่ากัน เพราะเขาคิดว่าเพลงนี้พูดกับคนทั้งเพศจึงควรร้องพร้อมกัน อัลบั้มนี้มีนักดนตรีต่างวงอย่าง เอี่ยว-ปุรวิชญ์ ขาวลออ มือกลองวง The Richman Toyเม้ง-ภัทรพล ทองสุขา มือกลองวง Desktop Error มาช่วยอัดกลอง อัลบั้มนี้มีเพลงเด่นหลายเพลง เช่น เงาของฝน, หมุน, ประโยคบอกเล่า, ป่าสนในห้องหมายเลข 1, ร่องน้ำตา ฯลฯ การได้อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างและได้เห็นชีวิตคนที่หลากหลายทำให้เนื้อเพลงของ Greasy Cafe หลุดพ้นจากการจมปลักกับความหม่นเศร้าและความเปลี่ยนแปลง เนื้อเพลงอัลบั้มนี้ส่วนใหญ่พูดถึงการเดินทาง ความสัมพันธ์ที่คลี่คลาย และการกล้าเผชิญหน้ากับความเปลี่ยนแปลง
 
The Journey without Maps คืออัลบั้มที่ทำให้ภาพของ Greasy Cafe ค่อนข้างชัดเจน ของ Greasy Cafe ทั้งในแง่ยอดขายและคำวิจารณ์ เขาได้รับรางวัลทางดนตรีจากหลายสถาบัน เช่น อัลบั้มยอดเยี่ยมประจำปีพ.ศ.2555 Channel [V] Thailand เมโลสโมสร ศิลปินชายเดี่ยวยอดเยี่ยม คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 10 เพลงยอดเยี่ยม (เงาของฝน) สีสันอวอร์ดครั้งที่ 25  มิวสิควีดีโอจากเพลงในอัลบั้มนี้ยังโดดเด่นไม่แพ้อัลบั้มอื่น โดยเฉพาะเพลง เงาของฝน ฝีมือของผู้กำกับ [[หัวกลม]] และเพลง หมุน โดย [[นวพล ธำรงรัตนฤทธิ์]] อีกเพลงในอัลบั้มที่ได้รับความนิยมมากคือ ร่องน้ำตา นอกจากจะเป็นเพลงฮิตยังได้รับการเลือกให้เป็นเพลงประกอบซีรี่ส์ [[ฮอร์โมนส์ วัยว้าวุ่น|HORMONES]] 3 THE FINAL SEASON ของค่ายหนัง [[จีดีเอช ห้าห้าเก้า|GDH]]
 
=== อัลบั้มที่สี่ (พ.ศ.2555-ปัจจุบัน) ===
พ.ศ.2560 อภิชัยให้สัมภาษณ์ว่ากำลังเตรียมตัวออกอัลบั้มใหม่อีกครั้ง
 
=== ผลงานเพลงอื่นๆ ===
การทำอัลบั้ม The Journey without Maps ทำให้อภิชัยรู้สึกได้ปลดล็อกตัวเองและทดลองทำงานใหม่ๆ มากขึ้น ช่วงแรกของการทำเพลง อภิชัยเชื่อว่าเขาไม่สามารถแต่งเพลงให้ศิลปินคนอื่นได้ เพราะกลัวถ้อยคำจะไม่เข้ากับศิลปินและเนื้อหาในเพลงส่วนใหญ่เป็นเหตุการณ์จริงที่เกิดกับตัวเขาหรือคนใกล้ตัวเขาเอง ในช่วงรอยต่อระหว่างอัลบั้ม ทิศทาง และ The Journey without Maps อภิชัยได้ทดลองแต่งเพลงให้ศิลปินคนอื่น งานที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดคือการแต่งเพลงในอัลบั้ม 5 ของ [[อีฟ ปานเจริญ|Palmy]] ทั้งหมดสามเพลง คือ ทุ่งสีดำ, Butterfly และ Private Sky นอกจากนี้เขายังได้ลองทำงานใหม่ๆ อย่างการทำคัฟเวอร์เพลง สิ่งสมมติ จาก[[วงนั่งเล่น]] เพื่อทำเพลงประกอบภาพยนตร์ [[ฟ. ฮีแลร์|ฟ.ฮีแลร์]] เพลง ฝืน ยังถูกคัฟเวอร์เพื่อใช้ประกอบภาพยนตร์ [[รักของเรา The Moment|รักของเรา]] The Moment
 
อภิชัยยังทดลองทำงานใหม่นอกเหนือจากงานเพลงและภาพยนตร์ นั่นคือหนังสือ The Destination from nowhere รวมเกร็ดความคิดเบื้องหลังเพลงของ Greasy Cafe หนังสือเสียงแนวทดลอง Panoramic และงานเพลงรูปแบบ EP ทำแถมพิเศษเฉพาะในงาน [[Fat T-shirt]] และ [[Cat T-Shirt]] โดยเกิดจากความคิดของอภิชัยว่าอยากให้แฟนของ Greasy Cafe ที่มาซื้อเสื้อได้เพลง ถือเป็นการขอบคุณแฟนเพลงรูปแบบหนึ่งส่วนมากเป็นเพลงทดลองที่ไม่มีคำร้อง เพราะเขาอยากทำเพลงโดยไม่ให้เนื้อร้องมาจำกัดจินตนาการ
 
ในปี [[พ.ศ. 2556]] อภิชัยมีโอกาสทำเพลงพิเศษให้กับเครื่องดื่ม[[แสงโสม (สุรา)|แสงโสม]]ในโครงการชื่อว่า Unique Journey เพลง เสมอ และในปี [[พ.ศ. 2560]] โครงการ [[คนไทยไม่แพ้ชาติใดในโลก]] เพลง 9 ซึ่งมีเนื้อหาให้กำลังใจคนทำงานด้วยมุมมองของคนที่ผ่านโลกมานาน นอกจากนี้อภิชัยยังได้ทำเพลงประกอบภาพยนตร์ The Down พ.ศ. 2558 ด้วยเพลงชื่อว่า สุดสายตา ซึ่งได้รับรางวัลเพลงนำภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ [[สุวรรณหงส์|สุพรรณหงส์ครั้งที่ 25]] เมื่อเดือน[[มีนาคม]] [[พ.ศ. 2559|พ.ศ.2559]]
 
== คอนเสิร์ต ==
Greasy Cafe เคยมีคอนเสิร์ตใหญ่ของตัวเอง 2 ครั้งชื่อว่า [[Greasy Cafe: Untill Tomorrow]] ที่[[สนามกีฬาจรัญ บุรพรัตน์]] กรุงเทพฯ วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ.2556 มีผู้ชมจำนวน 5000 คน งานนี้ถือเป็นการจัดคอนเสิร์ตใหญ่ครั้งแรกของอภิชัย เขาตั้งใจจัดองค์ประกอบให้เป็นมากกว่าคอนเสิร์ต แต่รวบรวมสิ่งที่อภิชัยชอบและหลงใหล ร้านอาหารที่มาออกบูทก่อนงานเริ่มคือร้านที่เขาชอบและอยู่ในละแวกบ้านของอภิชัย นิทรรศการในงานก็สะท้อนรสนิยมของตัวเขาซึ่งเป็นด้านที่แฟนเพลงไม่เคยเห็น งานนี้ยังจัดวันเดียวกันช่วงที่มีเหตุการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองย่านรามคำแหง ทำให้คอนเสิร์ตเกือบถูกยกเลิก สุดท้ายอภิชัยตัดสินใจจัดต่อเพื่อให้แฟนเพลงที่เดินทางมาถึงแล้วหรือตั้งใจเดินทางไกลเพื่อมางานนี้โดยเฉพาะสมหวังทุกคน
 
แนวคิดในการจัดคอนเสิร์ตมาจากการเปรียบเปรยของอภิชัยว่าแฟนเพลงของเขาเป็นเหมือนผู้ร่วมเดินทาง คอนเสิร์ตสำหรับเขาไม่ใช่แค่งานฟังเพลง แต่เป็นเหมือนการหยุดพักและเฉลิมฉลองก่อนจะเดินทางด้วยกันต่อไป นี่เป็นเหตุผลที่ Untill Tomorrow มีความเป็น 'คอนเสิร์ต' น้อย เน้นชวนให้ผู้คนทั้งแฟนคลับและคนที่เขารู้จักมาใช้เวลากันอย่างใกล้ชิด ในพื้นที่ที่แวดล้อมด้วยธรรมชาติ
 
อภิชัยจัดคอนเสิร์ตรูปแบบนี้อีกครั้งในชื่อ [[Greasy Cafe: Untill Tomorrow Home]] ที่เขากะโหลก จังหวัดประจวบคิรีขันธ์ วันที่ 26 เมษายน [[พ.ศ. 2557|พ.ศ.2557]] มีผู้ชมจำนวน 2000 คน งานนี้เป็นคอนเสิร์ตอะคูสติกที่มีคนเล่นแค่ 3 คน แต่ใช้เครื่องดนตรีต่างประเภทถึง 20 ชนิด เขานำคำว่า Home ต่อท้ายชื่อคอนเสิร์ตเพื่อล้อกับชื่ออัลบั้ม The Journey without Maps โปสเตอร์งานก็ใช้ภาพทะเลเหมือนปกอัลบั้ม หลังจากพาแฟนเพลงเดินทางมากับอัลบั้มนี้แล้ว เขาอยากให้คอนเสิร์ตนี้เป็นเหมือนการกลับบ้าน ถือเป็นการปิดอัลบั้มสามอย่างสมบูรณ์แบบ
 
== ผลงานสตูดิโออัลบั้ม ==
* [[สิ่งเหล่านี้]] (พ.ศ. 2551)
 
* [[ทิศทาง (อัลบั้ม)|ทิศทาง]] (พ.ศ. 2552)
 
* [[The Journey without Maps]] (พ.ศ. 2555)
 
== ผลงานอัลบั้มตัวอย่าง (EP) และเพลงพิเศษ ==
* เพลง หา, อัลบั้ม Smallroom 001 (พ.ศ. 2542)
* เพลง พบ, อัลบั้ม Smallroom 002 (พ.ศ. 2544)
* เพลง a day, อัลบั้ม a day Red Label (พ.ศ. 2544)
* เพลง เธอรู้รึเปล่า, อัลบั้ม Sanamluang connects by Nokia 5700 XpressMusic Part 02 (พ.ศ. 2550)
* เพลง เงินล้าน, อัลบั้ม Fatcode 9 (พ.ศ. 2552)
* อัลบั้ม Panoramic, The Book with Sound (พ.ศ. 2553)
* เพลง ฤดูร้อน, อัลบั้ม The Love Scene (พ.ศ. 2554)
* EP ระยะ (พ.ศ. 2553)
* EP ฝืน (พ.ศ. 2554)
* EP The Journey without Maps Teaser (พ.ศ. 2555)
* เพลง ช่อมะกอก feat. น.ส. เอ้บ ศุขสลุง [OST. ตั้งวง] (พ.ศ. 2556)
* เพลง เสมอ (พ.ศ. 2556)
* EP This is love (พ.ศ.2557)
* เพลง สุดสายตา [OST.The Down] (พ.ศ.2558)
* EP Relationtrip (พ.ศ.2559)
 
=== งานแต่งเพลง ===
เส้น 117 ⟶ 109:
=== งานเขียน ===
* พ.ศ. 2554 - [[The Destination from Nowhere]]
=== ภาพยนตร์รางวัล ===
 
{| class="wikitable"
|-
! ปี !! ภาพยนตร์ !! รับบท !! เข้าฉาย
|-
| พ.ศ. 2554 || ''[[แต่เพียงผู้เดียว]]'' || "เล็ก" || Venice International Film Festival 2011 (Italy)<br />
Pusan International Film Festival 2011 (Korea)<br />
World Film Festival of Bangkok 2012 (Thailand)<br />
Gijon International Film Festival 2011 (Spain)<br />
Festival des 3 Continents 2011 (France)<br />
Dubai International Film Festival 2011 (UAE)<br />
Singapore Asian Film Festival 2012 (Singapore)<br />
Palm Springs International Film Festival 2012 (USA)<br />
International Film Festival Kerala 2012 (India)<br />
Black Movie Geneva Film Festival 2012 (Switzerland)<br />
Cinema Novo Film Festival 2012 (Belgium)<br />
Hong Kong International Film Festival 2012 (Hong Kong)<br />
Osaka Asia Film Festival 2012 (Japan)<br />
Buenos Aires International Film Festival 2012 (Argentina)<br />
Istanbul Film Festival 2012 (Turkey)<br />
Los Angeles Film Festival 2012 (USA)<br />
Munich International Film Festival 2012 (Germany)<br />
Santiago de Chile Asian Film Festival 2012 (Chile)<br />
 
|-
| พ.ศ. 2556 || ''[[Sorry]]'' || "ซัน" || ช่อง 9 โมเดิร์นไนน์ทีวี
|}
 
== รางวัล ==
{| class="wikitable"
! width="60" | ปี