ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระพรหมวชิรปัญญาจารย์ (ทองดี สุรเตโช)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
CFAW.60 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
| ชื่อทั่วไป =
| สมณศักดิ์ = พระมหาโพธิวงศาจารย์
| วันเกิด = [[15 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2489]]
| วันบวช = [[26 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2510]]
| วันตาย =
| พรรษา = {{อายุ|2510|6|26}}
บรรทัด 16:
| ตำแหน่ง = [[ราชบัณฑิต]] [[เจ้าอาวาส]][[วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร]] หัวหน้า[[พระธรรมทูต]]สายที่ 8
}}
'''พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ.๙ ราชบัณฑิต''' นามเดิม '''ทองดี สุรเดช''' ฉายา '''สุรเตโช''' เป็น[[ราชบัณฑิต]] เป็น[[พระราชาคณะเจ้าคณะรอง]] ชั้นหิรัญบัฏ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส[[วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร]] หัวหน้า[[พระธรรมทูต]]สายที่ 8 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภา[[มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย]]
 
'''พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ.๙ ราชบัณฑิต''' นามเดิม '''ทองดี สุรเดช''' ฉายา '''สุรเตโช''' [[ราชบัณฑิต]] เป็น[[พระราชาคณะเจ้าคณะรอง]] ชั้นหิรัญบัฏ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส[[วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร]] หัวหน้า[[พระธรรมทูต]]สายที่ 8 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภา[[มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย]]
 
== ชีวิตและงาน ==
'''พระมหาโพธิวงศาจารย์''' (ทองดี สุรเตโช) มีนามเดิมว่า '''ทองดี สุรเดช''' เกิดเมื่อวันที่ [[15 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2489]] ที่[[อำเภอพรานกระต่าย]] [[จังหวัดกำแพงเพชร]] เมื่ออายุ 14 ปี และจบชั้นมัธยมต้นแล้วก็ได้บรรพชาเป็น[[สามเณร]] เมื่ออายุครบ 20 ปี ได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุที่วัดเดิมคือ[[วัดไตรภูมิ]] อำเภอพรานกระต่าย จังหวัดกำแพงเพชร จากนั้นก็ได้ศึกษาธรรมที่[[สำนักเรียน]][[วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ]] สอบได้[[เปรียญธรรม 9 ประโยค]] เมื่อ [[พ.ศ. 2515]] ด้วยอายุ 26 ปี ในทางโลกสอบได้[[ประโยควิชาครูพิเศษมัธยม]] (พ.ม.) ในปีถัดมา
 
==== ด้านการงาน ====
ด้านการงาน พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช) ได้เป็นเลขานุการ[[เจ้าคณะอำเภอ]]พรานกระต่าย เลขานุการเจ้าคณะ[[เขตบางขุนเทียน]] ต่อมาได้เป็นอาจารย์สอนวิชาแต่ง[[ฉันท์]][[ภาษามคธ]] ชั้นประโยค ป.ธ.8 ที่[[โรงเรียนพระปริยัติธรรม]]ส่วนกลางของคณะ[[สงฆ์]] ก่อนที่จะเป็น[[เจ้าคณะแขวง]]บางค้อ ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดราชโอรสาราม เคยเป็น[[เจ้าคณะภาค]] 16 เป็นกรรมการ[[มหาเถรสมาคม]] ระหว่าง [[พ.ศ.2535]]-[[พ.ศ.2544]]
 
==== ด้านวิชาการ ====
ด้านวิชาการ พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช) เคยเป็นรองประธานกรรมการตรวจสอบต้นฉบับต้นฉบับ[[พระไตรปิฎก]]ฉบับ[[สังคายนา]] [[ภาษาไทย]]และ[[ภาษาบาลี]] เป็นรองประธานกรรมการตรวจสำนวนการแปลพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการการศึกษาของคณะสงฆ์ เป็นกรรมการจัดทำแผนพัฒนาด้านการศึกษา [[กรมการศาสนา]] ประธานกรรมการจัดทำต้นฉบับพระไตรปิฎก ฉบับภาษาไทย นอกจากนี้ยังเคยเป็นประธานกรรมการพิจารณาและดำเนินการจัดตั้ง[[สำนักหุบผาสวรรค์]]เป็นสถานศึกษาทางพุทธศาสนาอีกด้วย
 
==== ด้านการเผยแผ่ ====
พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช) ได้เขียนหนังสือและแต่งตำราเพื่อเผยแผ่พระธรรมจำนวนมากดังรายการผลงานเขียนของท่านข้างล่างนี้ นอกจากนี้พระมหาโพธิวงศาจารย์ยังได้อนุญาตให้นำศัพท์เกี่ยวกับ[[พุทธศาสนา]]และคำที่ใช้กับพระและวัดในหนังสือ "'''คำวัด'''" มาเผยแพร่ใน[[อภิธานศัพท์พุทธศาสนา]]ใน[[วิกิพีเดีย]]อีกด้วย{{อ้างอิง}}
 
== ตำแหน่งหน้าที่สำคัญ ==
หลังจากสอบได้[[เปรียญธรรม 9 ประโยค]] แล้ว พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช) ได้ปฏิบัติงานด้านการศาสนาในตำแหน่งต่างๆ มาเป็นลำดับ นอกจากตำแหน่งรองเจ้าอาวาสวัดราชโอรสารามดังกล่าวแล้วก็ได้เป็น[[เจ้าคณะภาค]] 16 เป็นกรรมการ[[มหาเถรสมาคม]] เป็นเจ้าอาวาสวัดราชโอรสาราม เจ้าสำนักเรียนวัดราชโอรสาราม เป็นหัวหน้าพระธรรมทูตสายที่ 8 เป็นผู้อำนวยการฝึกอบรมพระ[[นักเทศน์]]ใน[[เขตปกครองคณะสงฆ์หนกลาง]]และ[[หนใต้]] นอกจากนี้ ยังเป็นผู้อุปถัมภ์สร้าง[[วัดพุทธวิหาร]] กรุง[[เบอร์ลิน]] และ[[วัดธรรมวิหาร]] เมือง[[ฮันโนเวอร์]] [[ประเทศเยอรมนี]]อีกด้วย
 
อนึ่ง พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช) ได้รับการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็น[[ราชบัณฑิต]] สาขาวิชา[[ตันติภาษา]] [[สำนักศิลปกรรม]] [[ราชบัณฑิตยสถาน]]เมื่อ [[พ.ศ. 2539]]
 
== สมณศักดิ์ ==
* [[พ.ศ. 2515]] สอบได้[[เปรียญธรรม 9 ประโยค]]
* [[5 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2519]] โปรดเกล้าฯ พระราชทานสมณศักดิ์เป็น[[พระราชาคณะ]]ชั้นสามัญที่ '''''พระศรีสุทธิวงศ์'''''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2520/D/003/1.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่องพระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์], เล่ม 94, ตอนที่ 3 ง ฉบับพิเศษ, 6 มกราคม 2520, หน้า 7</ref>
* [[5 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2524]] โปรดเกล้าฯ เลื่อนสมณศักดิ์เป็น[[พระราชาคณะ]]ชั้นราชที่ '''''พระราชวิสุทธิโมลี''' ตรีปิฎกบัณฑิต ยติคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2524/D/206/1.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่องพระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์], เล่ม 98, ตอนที่ 206 ฉบับพิเศษ, 17 ธันวาคม พ.ศ. 2524, หน้า 3</ref>
* [[5 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2531]] โปรดเกล้าฯ เลื่อนสมณศักดิ์เป็น[[พระราชาคณะ]]ชั้นเทพ]]ที่ '''''พระเทพปริยัติโมลี''' ศรีปาพจนานุสิฐ ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2531/D/207/1.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่องพระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์], เล่ม 105, ตอนที่ 207 ฉบับพิเศษ, 9 ธันวาคม พ.ศ. 2531, หน้า 2</ref>
* [[12 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2535]] ในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ [[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]] ๑๒ สิงหาคม ๒๕๓๕ โปรดเกล้าฯ เลื่อนสมณศักดิ์เป็นกรณีพิเศษ เป็น[[พระราชาคณะชั้นธรรม]]ที่ '''''พระธรรมกิตติวงศ์''' ปริยัติวิธานธำรง กวีวงศดิลก ตรีปิฎกบัณฑิต ธรรมิกคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2535/D/101/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่องพระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์], เล่ม 109, ตอนที่ 101 ฉบับพิเศษ, 12 สิงหาคม พ.ศ. 2535, หน้า 2</ref>
* [[5 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2557]] โปรดเกล้าฯ พระราชทานสถาปนาสมณศักดิ์เป็น[[พระราชาคณะเจ้าคณะรอง]] ชั้นหิรัญบัฎ ที่ '''''พระมหาโพธิวงศาจารย์''' ปริยัติกิจวิธานปรีชา ศีลาจารวิมล โสภณธรรมานุสิฐ ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/B/028/1.PDF ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์], เล่ม 131, ตอนที่ 28 ข, 5 ธันวาคม พ.ศ. 2557, หน้า 1</ref>