ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดัชนีการพัฒนามนุษย์"

ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:UN Human Development Report 2014.svg|thumb|right|400px|แผนที่ลงสีแสดงดัชนีการพัฒนามนุษย์ (ข้อมูลปี พ.ศ. 2557 ซึ่งเผยแพร่เมื่อ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2558)
{{ล้าสมัย}}
 
[[ไฟล์:2014_UN_Human_Development_Report_Quartiles.svg|400px|thumb|แผนที่โลกแสดงดัชนีการพัฒนามนุษย์ ในปี [[พ.ศ. 2556]]
{|width="100%" border="0" cellspacing="0" cellpadding="0" style="background:transparent"
|-
|valign="top"|
| {{legend|#003399|สูงมาก}} || {{legend|#E6EDFF|ต่ำ}}
{{Legend|#003C00|0.900 ขึ้นไป}}
|-
{{Legend|#007F00|0.850–0.899}}
| {{legend|#3072D9|สูง}} || {{legend|#858585|ไม่มีข้อมูล}}
{{Legend|#00C400|0.800–0.849}}
|-
{{Legend|#00F900|0.750–0.799}}
| {{legend|#A8C3FF|ปานกลาง}} ||
{{Legend|#D3FF00|0.700–0.749}}
|}]]
|valign="top"|
{{Legend|#FFFF00|0.650–0.699}}
{{Legend|#FFD215|0.600–0.649}}
{{Legend|#FFA83C|0.550–0.599}}
{{Legend|#FF852F|0.500–0.549}}
{{Legend|#FF5B00|0.450–0.499}}
|valign="top"|
{{Legend|#FF0000|0.400–0.449}}
{{Legend|#A70000|0.350–0.399}}
{{Legend|#7F0000|0.300–0.349}}
{{Legend|#210000|ต่ำกว่า 0.300}}
{{Legend|#B9B9B9|ไม่ทราบข้อมูล}}
|}
]]
 
'''ดัชนีการพัฒนามนุษย์''' ({{lang-en|Human Development Index: HDI}}) คือดัชนีทางสถิติแบบองค์รวมที่รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ[[การคาดหมายคงชีพ]] [[การศึกษา]] และรายได้เฉลี่ยต่อหัว ซึ่งใช้จัดลำดับการพัฒนามนุษย์ในแต่ละประเทศเป็น 4 กลุ่ม ยิ่งประเทศใดมีระดับการคาดหมายคงชีพ การศึกษา และรายได้เฉลี่ยต่อหัวมาก ก็จะยิ่งส่งผลให้ระดับการพัฒนามนุษย์มากตามไปด้วย ทั้งนี้ดัชนีดังกล่าวถูกพัฒนาโดยนักเศรษฐศาสตร์ชาวปากีสถาน มาห์บับ อุล ฮัก ร่วมกับะนักเศรษฐศาสตร์ชาวอินเดีย [[อมรรตยะ เสน]] ซึ่งได้วางกราบการศึกษาไว้ว่าผู้คนสามารถที่จะ "เป็น" หรือ "กระทำ" สิ่งที่ตนปรารถนาในชีวิตได้หรือไม่ และเผยแพร่รายงานการศึกษาโดย[[โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ]]
 
ในปี พ.ศ. 2553 รายงานการพัฒนามนุษย์ได้ริเริ่มดัชนีการพัฒนามนุษย์ปรับปรุงด้วยความไม่เท่าเทียมหรือ "ไอเอชดีไอ" (Inequality-adjusted Human Development Index; IHDI) ในขณะที่ดัชนีแบบเดิมยังถือว่ามีข้อมูลที่เป็นประโยชน์อยู่ โดยกล่าวว่า "ไอเอชดีไอคือดัชนีที่สะท้อนระดับการพัฒนามนุษย์ที่แท้จริง (เนื่องจากพิจารณาความไม่เท่าเทียมในสังคมด้วย)" และ "อาจมองได้ว่าดัชนีการพัฒนามนุษย์แบบเดิมคือศักยภาพในการพัฒนามนุษย์ (ดัชนีไอเอชดีไอสูงสุดที่เป็นได้ เนื่องจากเป็นกรณีที่สังคมมีความเท่าเทียมกันโดยสมบูรณ์)"
'''ดัชนีการพัฒนามนุษย์''' ({{lang-en|Human Development Index: HDI}}) เป็นดัชนีการวัดและเปรียบเทียบ ความยากจน [[การรู้หนังสือ]] การศึกษา อายุขัย การคลอดบุตร และปัจจัยอื่น ๆ ของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก เป็นวิธีการวัดความอยู่ดีกินดีตามมาตรฐาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กและเยาวชน หลายคนใช้ดัชนีการพัฒนามนุษย์ของ[[สหประชาชาติ]]นี้ในการระบุว่าประเทศใดประเทศหนึ่งจัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้ว ประเทศที่กำลังพัฒนา หรือประเทศพัฒนาน้อยที่สุด ดัชนีดังกล่าวได้พัฒนาขึ้นมาในปี ค.ศ. 1990 ([[พ.ศ. 2533]]) โดยนักเศรษฐศาสตร์ชาวปากีสถานชื่อ มาฮฺบับ อุล ฮาค และ[[องค์การสหประชาชาติ]]ได้ในดัชนีดังกล่าวมาใช้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1993 ([[พ.ศ. 2536]]) เป็นต้นมา
ดัชนีการพัฒนามนุษย์วัดความสำเร็จโดยเฉลี่ยของแต่ละประเทศในการพัฒนามนุษย์สามด้านหลัก ๆ ได้แก่
*การมีชีวิตที่ยืนยาวและมีสุขภาพดี - วัดจากอายุขัย
*ความรู้ - วัดจากการรู้หนังสือ (มีน้ำหนักเป็นสองในสามส่วน) และอัตราส่วนการเข้าเรียนสุทธิที่รวมกันทั้งระดับประถม มัธยม และอุดมศึกษา (มีน้ำหนักเป็นหนึ่งในสามส่วน)
*มาตรฐานคุณภาพชีวิต - วัดจากผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product - GDP) ต่อหัวและความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ (purchasing power parity - PPP)
ในแต่ละปี รัฐสมาชิกองค์การสหประชาชาติจะถูกจัดอันดับตามดัชนีนี้ ประเทศที่ได้รับการจัดอยู่ในอันดับต้น ๆ มักจะโฆษณาผลการจัดอันดับดังกล่าว (เช่น กรณีของนายฌอง เครเตียง อดีตนายกรัฐมนตรีของแคนาดา) เพื่อที่จะดึงดูดให้บุคลากรที่มีความสามารถอพยพเข้ามาในประเทศของตนมากขึ้น (เพื่อเป็นทรัพยากรมนุษย์ในทางเศรษฐกิจ) หรือเพื่อที่จะลดแรงจูงใจในการอพยพย้ายออก อย่างไรก็ดี องค์การสหประชาชาติยังมีวิธีการวัดความยากจนในแต่ละประเทศอีกด้วย โดยการใช้ดัชนีความยากจนมนุษย์ (Human Poverty Index)
'''การมีชีวิตที่ยืนยาวและมีสุขภาพดี''' ซึ่งวัดได้จากอายุขัย
'''ความรู้''' ซึ่งวัดได้จากการรู้หนังสือ (มีน้ำหนักเป็นสองในสามส่วน) และอัตราส่วนการเข้าเรียนสุทธิที่รวมกันทั้งระดับประถม มัธยม และอุดมศึกษา (มีน้ำหนักเป็นหนึ่งในสามส่วน)
'''มาตรฐานคุณภาพชีวิต''' ซึ่งวัดได้จากผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product - GDP) ต่อหัวและความเท่าเทียมกันของอำนาจซื้อ (purchasing power parity - PPP)
ในแต่ละปี รัฐสมาชิกองค์การสหประชาชาติจะถูกจัดอันดับตามดัชนีนี้ ประเทศที่ได้รับการจัดอยู่ในอันดับต้น ๆ มักจะโฆษณาผลการจัดอันดับดังกล่าว (เช่น กรณีของนายฌอง เครเตียง อดีตนายกรัฐมนตรีของแคนาดา) เพื่อที่จะดึงดูดให้บุคลากรที่มีความสามารถอพยพเข้ามาในประเทศของตนมากขึ้น (เพื่อเป็นทรัพยากรมนุษย์ในทางเศรษฐกิจ) หรือเพื่อที่จะลดแรงจูงใจในการอพยพย้ายออก
อย่างไรก็ดี องค์การสหประชาชาติยังมีวิธีการวัดความยากจนในแต่ละประเทศอีกด้วย โดยการใช้ดัชนีความยากจนมนุษย์ (Human Poverty Index)
 
== ดัชนีการพัฒนามนุษย์ พ.ศ. 2559 ==
ประเทศที่มี HDI มากที่สุดคือ นอร์เวย์ 0.938 และน้อยที่สุดคือ ซิมบับเว 0.140 อยู่ที่อันดับ 181 ส่วนประเทศไทย 0.722 อยู่ที่อันดับ 92 ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มี HDI เยอะที่สุดคือสิงคโปร์ 0.846 อยู่ที่อันดับ 27 ประเทศไทยอยู่ที่อันดับ 4 ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และอันดับ 11 ของเอเชีย (ไม่รวมตะวันออกกลาง) ประเทศที่มี HDI น้อยที่สุดในเอเชียคือ อัฟกานิสถาน 0.349 อยู่ที่อันดับ 180 ของโลก และในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้คือ พม่า 0.451 อยู่ที่อันดับ 132.
{{บทความหลัก|รายชื่อประเทศตามดัชนีการพัฒนามนุษย์}}
รายงานการพัฒนามนุษย์ พ.ศ. 2559 ถูกเผยแพร่โดยโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติในวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2560 และได้คำนวณคะแนนสำหรับดัชนีการพัฒนามนุษย์จากประมาณการข้อมูลสำหรับปี พ.ศ. 2558 ตารางด้านล่างต่อไปนี้คือกลุ่มประเทศที่มีระดับการพัฒนามนุษย์ "สูงมาก" จำนวน 51 ลำดับ<ref name="2016 Complete">http://hdr.undp.org/sites/default/files/hdr_2015_statistical_annex.pdf</ref><!-- *Macau and Taiwan are non-UN members and thus their HDI rankings are not calculated by the UNDP but by their own respective governments; the two territories' HDI rankings have been added for comparison purposes --><ref name="Macau in Figures, 2015">The UN does not calculate the HDI of Macau. The government of Macau calculates its own HDI.[http://www.dsec.gov.mo/getAttachment/0d4efddf-7ad1-400c-ae84-7137d9c9df9f/E_MN_PUB_2015_Y.aspx Macau in Figures, 2015]</ref><ref name="dgbas2011">Taiwan's government calculated its HDI to be 0.882, based on 2010 new methodology of UNDP. {{cite web|url=http://www.dgbas.gov.tw/public/Data/491716362790WG0X9I.pdf|format=PDF|title=2011中華民國人類發展指數 (HDI)|accessdate=2011-11-21|year=2011|publisher=Directorate General of Budget, Accounting and Statistics, Executive Yuan, R.O.C.|language=Chinese}}</ref>
 
* {{Increase}} =สูงขึ้น
ทั้งนี้ ดัชนีการพัฒนามนุษย์ (HDI) ถูกนำไปใช้วัดการพัฒนาเศรษฐกิจ อันเนื่องมาจากการพัฒนาเศรษฐกิจคือการคำนึงถึงการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยไม่ได้จำกัดอยู่เพียงรายได้ หากแต่รวมถึงสุขภkrและการศึกษาซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของดัชนีการพัฒนามนุษย์
* {{Steady}} = คงที่
* {{Decrease}} = ต่ำลง
<!-- * Similar HDI values in the current list do not lead to ranking ties, since the HDI rank is actually determined using HDI values to the sixth decimal point. (It changed on the 2014 report, and know there are ranking ties) -->
* ตัวเลขด้านข้างเครื่องหมายแสดงถึงอันดับที่เปลี่ยนแปลงไปจากปีก่อนหน้า
{{clear}}
 
{|class="wikitable" style="text-align:center"
|-
!scope="col" colspan="2"| อันดับ
! scope="col" rowspan="2" style="width:250px;"| ประเทศ
!scope="col" colspan="2"| คะแนน
|-
! scope="col" style="width:75px;"| พ.ศ. 2558<br /><small>(จากรายงาน พ.ศ. 2559)</small><ref name="UNDP2015">{{cite web|url=http://hdr.undp.org/sites/default/files/hdr_2015_statistical_annex.pdf |title= Human Development Report 2015 – "Sustaining Human Progress: Reducing Vulnerabilities and Building Resilience" |publisher=Human Development Report Office, [[โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ|United Nations Development Programme]] |accessdate=21 March 2017}}</ref>
! scope="col" style="width:75px;"| เปลี่ยนแปลงจากปีก่อน<ref name="UNDP2016"/>
! scope="col" style="width:75px;"| พ.ศ. 2558<br /><small>(จากรายงาน พ.ศ. 2559)</small><ref name="UNDP2016"/>
! scope="col" style="width:75px;"| เปลี่ยนแปลงจากปีก่อน<ref name="UNDP2016"/>
|-
| 1 || {{steady}} ||style="text-align:left"| {{flag|Norway}} || 0.949 || {{increase}} 0.001
|-
| 2 || {{increase}} (1) ||style="text-align:left"| {{flag|Australia}} || 0.939 || {{increase}} 0.002
|-
| 2 || {{steady}} ||style="text-align:left"| {{flag|Switzerland}} || 0.939 || {{increase}} 0.001
|-
| 4 || {{steady}} ||style="text-align:left"| {{flag|Germany}} || 0.926 || {{increase}} 0.002
|-
| 5 || {{increase}} (1) ||style="text-align:left"| {{flag|Denmark}} || 0.925 || {{increase}} 0.002
|-
| 5 || {{decrease}} (1) ||style="text-align:left"| {{flag|Singapore}} || 0.925 || {{increase}} 0.001
|-
| 7 || {{decrease}} (1) ||style="text-align:left"| {{flag|Netherlands}} || 0.924 || {{increase}} 0.001
|-
| 8 || {{steady}} ||style="text-align:left"| {{flag|Ireland}} || 0.923 || {{increase}} 0.003
|-
| 9 || {{steady}} ||style="text-align:left"| {{flag|Iceland}} || 0.921 || {{increase}} 0.002
|-
| 10 || {{decrease}} (1) ||style="text-align:left"| {{flag|Canada}} || 0.920 || {{increase}} 0.001
|-
| 10 || {{increase}} (1) ||style="text-align:left"| {{flag|United States}} || 0.920 || {{increase}} 0.002
|-
| 12 || {{steady}} ||style="text-align:left"| {{flag|Hong Kong}} || 0.917 || {{increase}} 0.001
|-
| 13 || {{steady}} ||style="text-align:left"| {{flag|New Zealand}} || 0.915 || {{increase}} 0.002
|-
| 14 || {{increase}} (1) ||style="text-align:left"| {{flag|Sweden}} || 0.913 || {{increase}} 0.004
|-
| 15 || {{decrease}} (1) ||style="text-align:left"| {{flag|Liechtenstein}} || 0.912 || {{increase}} 0.001
|-
| 16 || {{steady}} ||style="text-align:left"| {{flag|United Kingdom}} || 0.909 || {{increase}} 0.001
|-
| 17 || {{steady}} ||style="text-align:left"| {{flag|Japan}} || 0.903 || {{increase}} 0.001
|-
| 18 || {{increase}} (1) ||style="text-align:left"| {{flag|South Korea}} || 0.901 || {{increase}} 0.002
|-
| 19 || {{steady}} ||style="text-align:left"| {{flag|Israel}} || 0.899 || {{increase}} 0.001
|-
| 20 || {{steady}} ||style="text-align:left"| {{flag|Luxembourg}} || 0.898 || {{increase}} 0.002
|-
| 21 || {{increase}} (1) ||style="text-align:left"| {{flag|France}} || 0.897 || {{increase}} 0.003
|-
| 22 || {{decrease}} (1) ||style="text-align:left"| {{flag|Belgium}} || 0.896 || {{increase}} 0.001
|-
| 23 || {{steady}} ||style="text-align:left"| {{flag|Finland}} || 0.895 || {{increase}} 0.002
|-
| 24 || {{steady}} ||style="text-align:left"| {{flag|Austria}} || 0.893 || {{increase}} 0.001
|-
| 25 || {{steady}} ||style="text-align:left"| {{flag|Slovenia}} || 0.890 || {{increase}} 0.002
|-
| 26 || {{increase}} (1) ||style="text-align:left"| {{flag|Italy}} || 0.887 || {{increase}} 0.006
|-
| 27 || {{decrease}} (1) ||style="text-align:left"| {{flag|Spain}} || 0.884 || {{increase}} 0.002
|-
| 28 || {{steady}} ||style="text-align:left"| {{flag|Czech Republic}} || 0.878 || {{increase}} 0.003
|-
| 29 || {{steady}} ||style="text-align:left"| {{flag|Greece}} || 0.866 || {{increase}} 0.001
|-
| 30 || {{steady}} ||style="text-align:left"| {{flag|Brunei}} || 0.865 || {{increase}} 0.001
|-
| 30 || {{increase}} (1) ||style="text-align:left"| {{flag|Estonia}} || 0.865 || {{increase}} 0.002
|-
| 32 || {{steady}} ||style="text-align:left"| {{flag|Andorra}} || 0.858 || {{increase}} 0.001
|-
| 33 || {{increase}} (1) ||style="text-align:left"| {{flag|Cyprus}} || 0.856 || {{increase}} 0.002
|-
| 33 || {{increase}} (2) ||style="text-align:left"| {{flag|Malta}} || 0.856 || {{increase}} 0.003
|-
| 33 || {{steady}} ||style="text-align:left"| {{flag|Qatar}} || 0.856 || {{increase}} 0.001
|-
| 36 || {{steady}} ||style="text-align:left"| {{flag|Poland}} || 0.855 || {{increase}} 0.003
|-
| 37 || {{steady}} ||style="text-align:left"| {{flag|Lithuania}} || 0.848 || {{increase}} 0.002
|-
| 38 || {{steady}} ||style="text-align:left"| {{flag|Chile}} || 0.847 || {{increase}} 0.002
|-
| 38 || {{steady}} ||style="text-align:left"| {{flag|Saudi Arabia}} || 0.847 || {{increase}} 0.002
|-
| 40 || {{steady}} ||style="text-align:left"| {{flag|Slovakia}} || 0.845 || {{increase}} 0.003
|-
| 41 || {{steady}} ||style="text-align:left"| {{flag|Portugal}} || 0.843 || {{increase}} 0.002
|-
| 42 || {{steady}} ||style="text-align:left"| {{flag|United Arab Emirates}} || 0.840|| {{increase}} 0.004
|-
| 43 || {{steady}} ||style="text-align:left"| {{flag|Hungary}} || 0.836 || {{increase}} 0.002
|-
| 44 || {{steady}} ||style="text-align:left"| {{flag|Latvia}} || 0.830 || {{increase}} 0.002
|-
| 45 || {{steady}} ||style="text-align:left"| {{flag|Argentina}} || 0.827 || {{increase}} 0.001
|-
| 45 || {{increase}} (1) ||style="text-align:left"| {{flag|Croatia}} || 0.827 || {{increase}} 0.004
|-
| 47 || {{decrease}} (1) ||style="text-align:left"| {{flag|Bahrain}} || 0.824 || {{increase}} 0.001
|-
| 48 || {{increase}} (1) ||style="text-align:left"| {{flag|Montenegro}} || 0.807|| {{increase}} 0.003
|-
| 49 || {{decrease}} (1) ||style="text-align:left"| {{flag|Russia}} || 0.804 || {{decrease}} 0.001
|-
| 50 || {{increase}} (1) ||style="text-align:left"| {{flag|Romania}} || 0.802 || {{increase}} 0.004
|-
| 51 || {{decrease}} (1) ||style="text-align:left"| {{flag|Kuwait}} || 0.800 || {{increase}} 0.001
|}
 
== ประเทศไทย ==
ใน[[ทวีปเอเชีย]] 5 อันดับแรกมีดังนี้ ประเทศ[[ญี่ปุ่น]](อันดับโลก 12), [[ฮ่องกง]](อันดับโลก 13), ประเทศ[[เกาหลีใต้]](อันดับโลก 15), ประเทศ[[อิสราเอล]](อันดับโลก 17), และประเทศ[[สิงคโปร์]](อันดับโลก 26)
ประเทศไทยถูกจัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่มีการพัฒนามนุษย์ในระดับ "สูง" ซึ่งสถิติคะแนนย้อนหลัง (สำหรับการประเมินในปี พ.ศ. 2559)<ref name="UNDP2016">{{cite web|url=http://hdr.undp.org/sites/default/files/2016_human_development_report.pdf |title= Human Development Report 2016 – "Human Development for Everyone" |publisher=Human Development Report Office, [[โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ|United Nations Development Programme]] |accessdate=22 March 2017}}</ref> เป็นดังต่อไปนี้
 
{{Col-begin}}
{{Col-break}}
<ol>
 
<li>{{Flag|Norway}} 0.943 ({{steady}})
<li>{{Flag|Australia}} 0.929 ({{steady}})
<li>{{Flag|Netherlands}} 0.910 ({{increase}} 4)
<li>{{Flag|United States}} 0.910 ({{steady}})
<li>{{Flag|New Zealand}} 0.908 ({{decrease}} 2)
<li>{{Flag|Canada}} 0.908 ({{increase}} 2)
<li>{{Flag|Ireland}} 0.908 ({{decrease}} 2)
<li>{{Flag|Liechtenstein}} 0.905 ({{decrease}} 2)
<li>{{Flag|Germany}} 0.905 ({{increase}} 1)
<li>{{Flag|Sweden}} 0.904 ({{decrease}} 1)
<li>{{Flag|Switzerland}} 0.903 ({{increase}} 2)
<li>{{Flag|Japan}} 0.901 ({{decrease}} 1)
<li>{{Flag|Hong Kong}} 0.898 ({{increase}} 8)
<li>{{Flag|Iceland}} 0.898 ({{decrease}} 3)
<li>{{Flag|South Korea}} 0.897 ({{decrease}} 3)
<li>{{Flag|Denmark}} 0.895 ({{increase}} 3)
</ol>
{{Col-break}}
<ol>
<li value="17">{{Flag|Israel}} 0.888 ({{decrease}} 2)
<li>{{Flag|Belgium}} 0.886 ({{steady}})
<li>{{Flag|Austria}} 0.885 ({{increase}} 6)
<li>{{Flag|France}} 0.884 ({{decrease}} 6)
<li>{{Flag|Slovenia}} 0.884 ({{increase}} 8)
<li>{{Flag|Finland}} 0.882 ({{decrease}} 6)
<li>{{Flag|Spain}} 0.878 ({{decrease}} 3)
<li>{{Flag|Italy}} 0.874 ({{decrease}} 1)
<li>{{Flag|Luxembourg}} 0.867 ({{decrease}} 1)
<li>{{Flag|Singapore}} 0.866 ({{increase}} 1)
<li>{{Flag|Czech Republic}} 0.865 ({{increase}} 1)
<li>{{Flag|United Kingdom}} 0.863 ({{decrease}} 2)
<li>{{Flag|Greece}} 0.861 ({{decrease}} 7)
<li>{{Flag|United Arab Emirates}} 0.846 ({{increase}} 2)
<li>{{Flag|Cyprus}} 0.840 ({{increase}} 4)
<li>{{Flag|Andorra}} 0.838 ({{decrease}} 2)
</ol>
{{Col-break}}
<ol>
<li value="33">{{Flag|Brunei}} 0.838 ({{increase}} 4)
<li>{{Flag|Estonia}} 0.835 ({{steady}})
<li>{{Flag|Slovakia}} 0.834 ({{decrease}} 4)
<li>{{Flag|Malta}} 0.832 ({{decrease}} 3)
<li>{{Flag|Qatar}} 0.831 ({{increase}} 1)
<li>{{Flag|Hungary}} 0.816 ({{decrease}} 2)
<li>{{Flag|Poland}} 0.813 ({{increase}} 2)
<li>{{Flag|Lithuania}} 0.810 ({{increase}} 4)
<li>{{Flag|Portugal}} 0.809 ({{decrease}} 1)
<li>{{Flag|Bahrain}} 0.806 ({{decrease}} 3)
<li>{{Flag|Latvia}} 0.805 ({{increase}} 5)
<li>{{Flag|Chile}} 0.805 ({{increase}} 1)
<li>{{Flag|Argentina}} 0.797 ({{increase}} 1)
<li>{{Flag|Croatia}} 0.796 ({{increase}} 5)
<li>{{Flag|Barbados}} 0.793 ({{decrease}} 5)
 
{{Col-end}}
 
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[รายชื่อประเทศตามดัชนีการพัฒนามนุษย์]] ดัชนีของทุกประเทศทั่วโลก
* [[รายชื่อจังหวัดในประเทศไทยเรียงตามดัชนีพัฒนามุนษย์]]
 
{|class="wikitable"
|-
!scope="col" rowspan="2" style="text-align:center" width="80px"| ประเทศ
!scope="col" rowspan="2" style="text-align:center" width="80px"| อันดับล่าสุด<br /><small>(พ.ศ. 2558)</small>
!scope="col" rowspan="2" style="text-align:center" width="80px"| เปลี่ยนแปลงจากปีก่อน
!scope="col" colspan="10" style="text-align:center" | คะแนน
|-
!scope="col" style="text-align:center"| 2558
!scope="col" style="text-align:center"| 2557
!scope="col" style="text-align:center"| 2556
!scope="col" style="text-align:center"| 2555
!scope="col" style="text-align:center"| 2554
!scope="col" style="text-align:center"| 2553
!scope="col" style="text-align:center"| 2543
!scope="col" style="text-align:center"| 2533
|-
|style="text-align:center"| {{Flagcountry|Thailand}}
|style="text-align:center"| 87
|style="text-align:center"| {{increase}} (1)
| 0.740
| 0.738
| 0.737
| 0.733
| 0.729
| 0.720
| 0.649
| 0.574
|}
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
1.วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์. (2557). การศึกษาการลดความยากจนและการพัฒนาเศรษฐกิจในกลุ่มประเทศต่างๆทั่วโลก. วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
 
 
{{รายชื่อสถิติเกี่ยวกับประชากร}}
6,300

การแก้ไข