ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาร์เอ็มเอส ไททานิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Humdam (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{|{{Infobox Ship Begin}}
อีหลี
{{Infobox Ship Image
| Ship image = [[ไฟล์:RMS Titanic 3.jpg|300px]]
| Ship caption = เรือ''ไททานิก''ขณะออกจากท่าเซาท์แทมป์ตัน 10 เมษายน ค.ศ. 1912
}}
{{Infobox Ship Career
| Hide header =
| Ship name = '''อาร์เอ็มเอส ''ไททานิก''''' (RMS ''Titanic'') <ref name="Maritimequest">[http://www.maritimequest.com/liners/titanic_data.htm Maritimequest: RMS Titanic's data]</ref>
| Ship owner = [[ไฟล์:White Star flaga.svg|25px]] บริษัท[[ไวท์สตาร์ไลน์]]<ref name="Maritimequest"/>
| Ship operator =
| Ship registry = [[ไฟล์:Government Ensign of the United Kingdom.svg|25px]]<ref>{{cite book |last=Wilson |first=Timothy |title=Flags at Sea |publisher=Her Majesty's Stationery Office |location=London |date=1986 |page=34 |chapter=Flags of British Ships other than the Royal Navy |isbn=0-11-290389-4}}</ref> [[ลิเวอร์พูล]] [[สหราชอาณาจักร]]
| Ship route = เบลฟัสต์ - ควีนส์ทาวน์ (ท่าเรือโคบห์) - แชร์บรูก - เซาแธมป์ตัน - นิวยอร์ก
| Ship ordered = 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1908<ref name="Maritimequest"/>
| Ship builder = อู่ต่อเรือ ฮาร์แลนด์แอนด์วูลฟฟ์ ในควีนส์ไอแลนด์ เมือง[[เบลฟัสต์]] [[ไอร์แลนด์เหนือ]]<ref name="Maritimequest"/>
| Ship original cost =
| Ship yard number = 401<ref name="Atlantic"/>
| Ship way number =
| Ship laid down = [[31 มีนาคม]] [[ค.ศ. 1909]]<ref name="Maritimequest"/>
| Ship launched = [[31 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1911]]<ref name="Maritimequest"/> เวลา 10.30 น. ตาม[[เวลาท้องถิ่น]]
| Ship completed = [[2 เมษายน]] [[ค.ศ. 1912]]
| Ship christened = ไม่มี
| Ship acquired =
| Ship maiden voyage = [[10 เมษายน]] [[ค.ศ. 1912]]<ref name="Maritimequest"/>
| Ship in service =
| Ship registry = [[ลิเวอร์พูล]]
| Ship out of service =
| Ship identification = สัญญาณเรียกขาน "MGY"<ref name="Great"/> <br /> ตัวเลขทางราชการของอังกฤษ : 131428
| Ship fate = ชนภูเขาน้ำแข็ง วันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1912 เวลา 23.40 น. (เวลาเรือ) ในการเดินเรือเที่ยวแรก และอัปปาง 2 ชั่วโมง 40 นาทีให้หลัง<ref name="Maritimequest"/>
| Ship notes =
}}
{{Infobox Ship Characteristics
| Hide header =
|
| Ship class = [[ไวท์สตาร์ไลน์#เรือชั้นโอลิมปิก (Olympic class ships)|ชั้นโอลิมปิก]]
| Ship tonnage = 46,428 ตัน<ref name="Great"/>
| Ship displacement = 52,310 ตัน<ref name="Atlantic">[http://www.atlanticliners.com/titanic_home.htm Titanic's home at Atlantic Liners]</ref>
| Ship length = ความยาวตลอดลำ 883 ฟุต 9 นิ้ว<ref name="Great">[http://www.thegreatoceanliners.com/titanic.html The Great Ocean Liners: RMS Titanic]</ref> ยาวกว่าเรือโอลิมปิก 3 นิ้ว<ref name="Times 19110527" />
| Ship beam = วัดที่แนวน้ำกลางลำเรือ 92 ฟุต 6 นิ้ว<ref name="Times 19110527" />
| Ship height = วัดจากแนวน้ำถึงดาดฟ้าเรือบด 60 ฟุต 6 นิ้ว และวัดจากกระดูกงูถึงปลายปล่องไฟ 175 ฟุต
| Ship draught = วัดจากกลางท้องเรือถึงแนวน้ำ 34 ฟุต 7 นิ้ว<ref name="Maritimequest"/>
| Ship depth = 64 ฟุต 6 นิ้ว (19.7 เมตร) <ref name="Times 19110527">{{cite journal|last=Staff|date=27 May 1911|title=The Olympic and Titanic|journal=[[The Times]]|location=London|issue=39596|page=4}}</ref>
| Ship decks = 10 ชั้น; 7 ชั้นสำหรับผู้โดยสาร, 3 ชั้นสำหรับลูกเรือ โดยมี Sun deck, Boat (ชั้น เอ), Promenade (ชั้น บี), decks ซี-จี, ชั้นท้องเรืออีก 2 ชั้น (เป็นพื้นที่สำหรับหม้อน้ำ, [[เชื้อเพลิง]], เครื่องยนต์, ห้องผนึกน้ำ, ประตูกั้นน้ำ หรือพื้นทีสำหรับเพลาใบจักร เป็นต้น)
| Ship deck clearance =
| Ship ramps =
| Ship ice class =
| Trial length = 62 วินาที
| Ship power = 2 ชุดเครื่องยนต์ 4 กระบอกสูบไอน้ำ Triple Expansion ขับเคลื่อนโดยตรงกับใบจักรข้างซ้าย-ขวา ให้กำลัง 30,000 แรงม้า 75 รอบ/นาที และไอน้ำความดันต่ำที่ผ่านการใช้เครื่องยนต์กระสอบสูบทั้งสองชุดเข้าสู่เครื่องยนต์เทอร์ไบน์ขับเคลื่อนผ่านชุดเกียร์สู่ใบจักรกลาง ให้กำลัง 16,000 แรงม้า 165 รอบ/นาที
<ref name="beveridge">{{cite book|last=Beveridge|first=Bruce|coauthors=Hall, Steve |title=Olympic & Titanic|publisher=Infinity|location=West Conshohocken, PA |date=2004|page=1|chapter=Ismay's Titans|isbn=0741419491}}</ref>
| Ship propulsion = 3 ใบ ทำจากสัมฤทธิ์ โดยใบจักรกลางขนาด 16 ฟุต ดุมใบจักรเป็นกรวยครอบ พวงใบจักรมี 4 ใบ และใบจักรข้างทั้งสอง ขนาด 23 ฟุต 6 นิ้ว ไม่มีกรวยครอบที่ดุม พวงใบจักรมี 4 ใบ<ref name="Great"/>
| Ship speed = * ความเร็วเรือออกแบบ: 20-23 นอต<ref name="Maritimequest"/>
* ความเร็วสูงสุด: ไม่เคยทดสอบอย่างจริงจัง คาดว่าประมาณ 23 นอต<ref name="Great"/>
| Ship capacity = * แบบพักเดี่ยว 1,324 คน (ชั้นหนึ่ง 329 คน ชั้นสอง 285 คน และชั้นสาม จำนวน 710 คน) และสามารถปรับเปลี่ยนเป็นพักแบบคู่ในบางห้องได้เป็น 2,435 คน<ref name="Great"/>
* ความจูสูงสุด: 3,547 คน
| Ship crew = 860 คน<ref name="Maritimequest"/>
| Ship notes =
}}
|}
 
'''อาร์เอ็มเอส ''ไททานิก''''' ({{lang-en|RMS ''Titanic''}}) เป็นเรือโดยสารซึ่งจมลงสู่ก้น[[มหาสมุทรแอตแลนติก]]เมื่อวันที่ 15 เมษายน ค.ศ. 1912 หลังชน[[ภูเขาน้ำแข็ง]]ระหว่างการเดินทางเที่ยวแรกจาก[[เซาท์แทมป์ตัน]] สหราชอาณาจักร ไป[[นครนิวยอร์ก]] สหรัฐอเมริกา การจมของ''ไททานิก'' ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 1,514 ศพ นับเป็นภัยพิบัติทางทะเลในยามสงบครั้งที่มีผู้เสียชีวิตมากครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ ''ไททานิก'' เคยเป็นสิ่งของเคลื่อนได้ที่ใหญ่ที่สุดที่ทำด้วยฝีมือมนุษย์ในขณะการเดินทางเที่ยวแรก เป็นหนึ่งในสามเรือโดยสารชั้นโอลิมปิกซึ่งดำเนินการโดยไวต์สตาร์ไลน์ สร้างขึ้นระหว่าง ค.ศ. 1909-1911 โดยอู่ต่อเรือฮาร์แลนด์แอนดวูล์ฟฟ์ในเบลฟาสต์บรรทุกผู้โดยสาร 2,223 คน
 
ผู้โดยสารบนเรือมีบรรดาบุคคลที่ร่ำรวยที่สุดในโลก เช่นเดียวกับผู้อพยพกว่าพันคนจากบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ สแกนดิเนเวีย เป็นต้น ซึ่งกำลังแสวงหาชีวิตใหม่ในทวีปอเมริกาเหนือ เรือได้รับการออกแบบให้มีความสะดวกสบายและความหรูหราที่สุด โดยบนเรือมียิมเนเซียม สระว่ายน้ำ ห้องสมุด ภัตตาคารชั้นสูงและห้องจำนวนมาก นอกจากนี้ ยังมีโทรเลขไร้สายทรงพลังซึ่งจัดเตรียมไว้เพื่อความสะดวกของผู้โดยสาร เช่นเดียวกับการใช้เชิงปฏิบัติการ แต่แม้ ''ไททานิก'' จะมีคุณลักษณะความปลอดภัยที่ก้าวหน้า เช่น ห้องกันน้ำและประตูกันน้ำที่ทำงานด้วยรีโมต ก็ยังขาดเรือชูชีพที่เพียงพอสำหรับบรรทุกผู้โดยสารทุกคนบนเรือ เนื่องจากระเบียบความปลอดภัยในทะเลที่ล้าสมัย จึงมีเรือชูชีพเพียงพอสำหรับผู้โดยสาร 1,178 คนเท่านั้น เกินครึ่งของผู้ที่เดินทางไปกับเรือในเที่ยวแรกเล็กน้อย และหนึ่งในสามของความจุผู้โดยสารและลูกเรือทั้งหมดเท่านั้น
 
หลังเดินทางออกจากเซาท์แทมป์ตันเมื่อวันที่ 10 เมษายน ค.ศ. 1912 ''ไททานิก'' ถูกเรียกที่เชอร์บูร์ก (Cherbourg) ในฝรั่งเศส และควีนส์ทาวน์ (ปัจจุบันคือ โคฟ, Cobh) ในไอร์แลนด์ ก่อนมุ่งหน้าไปทางตะวันตกมุ่งสู่นิวยอร์ก วันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1912 ห่างจากเซาท์แทมป์ตันไปทางใต้ราว 600 กิโลเมตร ''ไททานิก'' ชนเข้ากับภูเขาน้ำแข็งเมื่อเวลา 11.40 น. (ตามเวลาเรือ GMT-3) การชนแฉลบทำให้แผ่นลำเรือ''ไททานิก'' งอเข้าในตัวเรือหลายจุดบนฝั่งกราบขวา และเปิดห้องกันน้ำห้าจากสิบหกห้องสู่ทะเล อีกสองชั่วโมง สามสิบนาทีต่อมา น้ำค่อยๆ ไหลเข้ามาในเรือและจมลง ผู้โดยสารและสมาชิกลูกเรือบางส่วนถูกอพยพในเรือชูชีพ โดยมีเรือชูชีพจำนวนมากถูกปล่อยลงน้ำไปทั้งที่ยังบรรทุกไม่เต็ม ชายจำนวนมาก กว่า 90% ของชายในที่นั่งชั้นสอง ถูกทิ้งอยู่บนเรือเพราะระเบียบ "ผู้หญิงและเด็กก่อน" ตามด้วยเจ้าหน้าที่ซึ่งบรรทุกเรือชูชีพนั้น ก่อน 2.20 น. เล็กน้อย ''ไททานิก'' แตกและจมลงโดยยังมีอีกกว่าพันคนอยู่บนเรือ คนที่อยู่ในน้ำเสียชีวิตภายในไม่กี่นาทีจากภาวะตัวเย็นเกิน (hypothermia) อันเกิดจากการจุ่มในมหาสมุทรที่เย็นจนเป็นน้ำแข็ง ผู้รอดชีวิต 710 คนถูกนำขึ้นเรืออาร์เอ็มเอส ''คาร์พาเธีย'' (RMS ''Carpathia'') อีกไม่กี่ชั่วโมงให้หลัง
 
ภัยพิบัติดังกล่าวทำให้ทั่วโลกตกตะลึงและโกรธจากการสูญเสียชีวิตอย่างใหญ่หลวง และความล้มเหลวของกฎระเบียบและปฏิบัติการซึ่งนำไปสู่ภัยพิบัตินั้น การไต่สวนสาธารณะในอังกฤษและสหรัฐอเมริกานำมาซึ่งพัฒนาการหลักในความปลอดภัยในทะเล หนึ่งในมรดกสำคัญที่สุด คือ การจัดตั้งอนุสัญญาความปลอดภัยของชีวิตในทะเลระหว่างประเทศ (SOLAS) ใน ค.ศ. 1914 ซึ่งยังควบคุมความปลอดภัยในทะเลตราบจนทุกวันนี้ ผู้รอดชีวิตหลายคนสูญเสียเงินและทรัพย์สินทั้งหมดและถูกทิ้งให้อดอยากแร้นแค้น หลายครอบครัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งของสมาชิกลูกเรือจากเซาท์แทมป์ตัน สูญเสียเสาหลักของครอบครัวไป พวกเขาได้รับความช่วยเหลือจากความเห็นใจสาธารณะและการบริจาคของมูลนิธิที่หลั่งไหลเข้ามา
 
== เบื้องหลัง ==
เส้น 182 ⟶ 246:
 
== การอับปางของเรือ<ref name=timeline/> ==
[[ไฟล์:TitanicRoute.png|thumb|400px|right|แผนที่แสดงบริเวณที่เรือเกิดอุบัติเหตุ]]
ภูเขาน้ำแข้งอยุ่ตรงหน้ส
[[ไฟล์:Titanic-sinking-animation.gif|250px|thumb|right|ลำดับการอับปางของเรือ ''ไททานิก'']]
[[ว่าหัวเรือนั้นสูงเพียงใด ดังนั้นผู้โดยสารและลูกเรือจึงตื่นตระหนกมากขึ้นเมื่อรู้ข่าว เพราะเรือจมเร็วกว่าที่คิด ทำให้ผู้โดยสารแย่งกันขึ้นเรือ ทำให้ความวุ่นวายทวีความรุนแรงขึ้น<ref name="Great"/>
[[ไฟล์:Stöwer Titanic.jpg|thumb|ภาพวาดการจมของ''ไททานิก'' โดย Willy Stöwer]]
[[ไฟล์:Titanic orchetra.jpg|thumb|right|เหล่านักดนตรีของ''ไททานิก'']]
[[ไฟล์:Titanic lifeboat.jpg|thumb|right|เรือบดของ''ไททานิก'']]
[[ไฟล์:RMS_Carpathia.jpg|thumb|right|[[อาร์เอ็มเอส คาร์พาเธีย|อาร์เอ็มเอส ''คาร์พาเธีย'']]]]
 
วันที่ 14 เมษายน [[พ.ศ. 2455|ค.ศ. 1912]] ขณะเดินทางอยู่ทางใต้ของแกรนด์แบงค์ของ[[นิวฟันด์แลนด์]] 22 นาฬิกา 45 นาที อุณหภูมิภายนอกเรือลดลงอย่างรวดเร็วจนเกือบถึงจุดเยือกแข็ง และน้ำทะเลรอบ ๆ ก็นิ่งลงจนแทบไม่มีคลื่นเลย แต่ก็ไม่มีใครในเรือที่รู้สึกถึงความผิดปกติ ผู้โดยสารที่อยู่บนดาดฟ้าก็กลับลงไปในเรือและใช้ชีวิตต่อตามปกติ<ref name="Ice">[http://www.titanicinquiry.org/BOTInq/BOTInq12Lightoller03.php Lightoller's testimony on Day 12 of British Board of Trade Inquiry]</ref>
 
'''22 นาฬิกา 50 นาที''' เรือเดินสมุทร ''[[แคลิฟอร์เนียน]]'' ซึ่งอยู่ไม่ไกลนัก ได้ส่งข่าวเตือน''ไททานิก'' ว่าเรือ ''แคลิฟอร์เนียน'' ต้องหยุดเรือ เพราะถูกน้ำแข็งล้อม<ref name="Ice"/>
[[ไฟล์:Titanic iceberg.jpg|thumb|ภาพภูเขาน้ำแข็งที่คาดว่า''ไททานิก''ชน ถ่ายไว้ได้ในวันเดียวกับที่''ไททานิก''จม]]
 
'''23 นาฬิกา 39 นาที''' เวรยามที่เสากระโดงแจ้งว่าได้พบ[[ภูเขาน้ำแข็ง]]ขนาดใหญ่อยู่ข้างหน้าเรือ ลูกเรือจึงเลี้ยวลำเรือเพื่อหลบ แต่เนื่องจากใบจักรและหางเสือที่มีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับขนาดของเรือ ทำให้ผู้บังคับเรือซึ่งยังไม่ชินกับการบังคับเรือใหญ่ขนาดนี้ทำให้ตัดสินใจผิดพลาด<ref>{{cite book|last=Harland|first=John|title=Seamanship in the age of sail|publisher=Conway Maritime|location=London|year=1984|pages=pp 175–176|isbn=0 85177 179 3|quote=The transition to 'rudder' orders...did not occur in the United Kingdom...until 1933}}</ref>
 
'''23 นาฬิกา 40 นาที''' ''ไททานิก''ชนเข้ากับภูเขาน้ำแข็ง<ref name="Maritimequest"/> ที่ 41 องศา 46 ลิปดาเหนือ 50 องศา 14 ลิปดาตะวันตก
 
ไม่กี่นาทีต่อมา[[วิศวกร]]เดินลงไปตรวจดูความเสียหาย และรายงานมาว่า เรือได้ชนกับภูเขาน้ำแข็งทางกราบขวาด้านหัวเรือ ซึ่งเป็นจุดอ่อนทนรอยแตกได้ไม่ทนทานเท่าจุดอื่น ๆ และห้องเครื่องส่วนหัว 5 ห้องเครื่องแรกก็เกิดรอยรั่ว ซึ่งวิศวกรบอกว่า หัวเรือเป็นจุดอ่อนที่สุดในเรือที่สามารถรับรอยแตกต่อเนื่องจากหัวเรือได้ 4 ห้อง ไม่ใช่ 5 ห้องดังที่เป็น ดังนั้นน้ำจะท่วมห้องเครื่องทั้งห้าสูงขึ้นเรื่อย ๆ และเมื่อท่วมมิดชั้น F เริ่มไหลขึ้นชั้น E น้ำก็จะล้นกำแพงกั้นน้ำเข้าท่วมห้องเครื่องที่ 6 และท่วมไปทีละห้องกระทั่งจมในที่สุด ดังนั้น เรือกำลังจะจมจากหัวเรือก่อน โดยเรือเหลือเวลาไม่กี่ชั่วโมง<ref name="Great"/><ref>[http://www.pbs.org/lostliners/titanic.html]</ref>
 
'''0 นาฬิกา''' ของวันที่ 15 เมษายน ค.ศ. 1912 น้ำเริ่มท่วมส่วนห้องพักของผู้โดยสารชั้นสาม ทำให้เริ่มเกิดข่าวลือว่าเรือกำลังจะจม แต่ผู้โดยสารส่วนมากยังไม่เชื่อ เพราะก่อนหน้านี้เรือไททานิกถูกโฆษณาว่าไม่มีวันจม
 
'''0 นาฬิกา 5 นาที''' กัปตันสั่งให้เตรียมเรือสำรองไว้ เตรียมอพยพผู้คนโดยด่วน, บอกเจ้าหน้าที่วิทยุให้ส่งสัญญาณขอความช่วยเหลือ และบอกพนักงานให้ไปปลุกผู้โดยสาร ให้ผู้โดยสารสวมเสื้อชูชีพ และทำร่างกายให้อบอุ่น และไปที่ดาดฟ้า ทำให้ข่าวลือเรื่องเรือกำลังจะจมแพร่ไปทั่วเรือ แต่ส่วนใหญ่ยังไม่เชื่อ ส่วนใหญ่ยังดำเนินกิจกรรมต่อไปอย่างใจเย็น และเมื่อขึ้นไปที่ดาดฟ้า เจออากาศหนาวภายนอก ก็กลับเข้าไปข้างในอีก ในช่วงเวลานี้ ผู้โดยสารดูไม่ตื่นตัว และไม่รู้ว่าสิ่งที่พวกเขากำลังจะพบนั้นเลวร้ายเพียงใด<ref name="Great"/>
 
ต่อมาราว 5-15 นาที เรือ[[อาร์เอ็มเอส คาร์พาเธีย|อาร์เอ็มเอส ''คาร์พาเธีย'']] ของสายการเดินเรือคูนาร์ด (Cunard Line) รับสัญญาณขอความช่วยเหลือของ''ไททานิก''ได้ และตอบกลับ โดยบอกว่าเร่งเครื่องเต็มที่แล้ว และ''คาร์พาเธีย''จะไปถึงเรือ''ไททานิก''ภายใน 4 ชั่วโมง แต่ไม่ทันกาล วิศวกรบอกว่าเรือลอยอยู่ได้ไม่ถึง 4 ชั่วโมงแน่ ดังนั้น ''ไททานิก'' จึงต้องพึ่งตนเอง<ref name= distress>{{cite web |title=Pleas For Help - Distress Calls Heard |work=United States Senate Inquiry Report |date= |url=http://www.titanicinquiry.org/USInq/USReport/AmInqRep06.php#a1 |accessdate=2008-11-24}}</ref>
 
'''0 นาฬิกา 25 นาที''' เรือสำรองทุกลำพร้อมอพยพผู้โดยสาร กัปตันสั่งให้เริ่มอพยพโดยให้สตรีและเด็กลงเรือไปก่อน แต่ลูกเรือไม่รู้ว่าเรือสำรองจุผู้คนได้เท่าไร จึงปล่อย[[เรือบด]]ออกทั้งที่ยังใส่คนไม่เต็มที่ ทำให้แทนที่เรือสำรองจะช่วยชีวิตได้ 1,178 คนตามที่ถูกออกแบบ กลับรับผู้โดยสารมาเพียง 712 คนเท่านั้น<ref name="Great"/>
 
'''0 นาฬิกา 45 นาที''' เรือสำรองลำแรกถูกปล่อยลงมา และเมื่อผู้โดยสารได้รับข่าวการปล่อยเรือชูชีพ และเห็นเจ้าหน้าที่ต่างทำงานอย่างเคร่งเครียดเอาจริงเอาจัง ก็เริ่มเชื่อข่าวที่ลือกันในเรือว่า เรือกำลังจะจม<ref>http://home.comcast.net/~bwormst/titanic/lifeboats/lifeboats.htm</ref>
 
'''0 นาฬิกา 50 นาที''' เริ่มยิงพลุขอความช่วยเหลือขึ้นฟ้า<ref name="Great"/>
 
'''1 นาฬิกาตรง''' ผู้โดยสารและลูกเรือส่วนใหญ่เชื่อว่าเรือกำลังจะจม เกิดความวุ่นวายและตื่นตระหนกขึ้น ลูกเรือที่ทำหน้าที่ปล่อยเรือสำรองเริ่มเผชิญแรงกดดันจากการที่ผู้โดยสารแย่งกันเป็นคนถัดไปที่จะได้ขึ้นเรือสำรอง เกิดเป็นความวุ่นวายเล็ก ๆ แต่ในขณะเดียวกัน ผู้โดยสารชายหลายคนแสดงความเป็นสุภาพบุรุษ โดยให้ภรรยาและลูกขึ้นเรือ แล้วตนเองถอยไป<ref name="anesi.com">[http://www.anesi.com/titanic.htm Titanic Disaster: Official Casualty Figures and Commentary<!-- Bot generated title -->]</ref>
 
'''1 นาฬิกา 15 นาที''' น้ำท่วมขึ้นมิดหัวเรือ และข่าวการที่น้ำท่วมมาจนมิดหัวเรือ ทำให้ผู้โดยสารเริ่มตื่นตระหนก เพราะเคยเห็นว่าหัวเรือนั้นสูงเพียงใด ดังนั้นผู้โดยสารและลูกเรือจึงตื่นตระหนกมากขึ้นเมื่อรู้ข่าว เพราะเรือจมเร็วกว่าที่คิด ทำให้ผู้โดยสารแย่งกันขึ้นเรือ ทำให้ความวุ่นวายทวีความรุนแรงขึ้น<ref name="Great"/>
 
'''1 นาฬิกา 25 นาที''' ความวุ่นวายทวีความรุนแรงขึ้นมาก เจ้าหน้าที่เริ่มใช้ปืนควบคุม เรือบดถูกเจ้าหน้าที่ปล่อยลงอย่างรีบร้อน เพราะความวุ่นวายจะทวีความรุนแรงขึ้น ซึ่งจะเป็นอุปสรรคสำคัญในการบรรจุคนลงเรือ และในการปล่อยเรือสำรองลงไป ในขณะที่เรือเองก็จมลงเรื่อย ๆ เหล่านักดนตรีได้แสดงสปิริต พวกเขาพยายามเล่นดนตรีเพื่อผ่อนคลายความตื่นตระหนกของคนบนเรือตลอดเวลา เมื่อห้องโถงด้านหัวเรือจมต่ำลงก็ย้ายไปเล่นที่ดาดฟ้าด้านท้ายเรือ และบรรเลงไปจนนาทีสุดท้ายของชีวิต เพลงสุดท้ายที่บรรเลงเป็นเพลงช้าในชื่อ “[[Nearer, My God, to Thee]]” หรือแปลว่า “[[ใกล้ชิดพระเจ้า]]” ซึ่งเป็นเพลงที่คริสต์ศาสนิกชนใช้ร้องเพื่อแสดงความไว้อาลัย