ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AlphamaBot (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 5:
งานสังคมสงเคราะห์ในความหมายทั่วๆไปที่สังคมรับรู้ คือ การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ที่ด้อยโอกาสในสังคม เช่น การแจกจ่ายสิ่งของแก่ผู้ประสบภัย การจัดชุดแพทย์ออกตรวจ การให้ทุนเล่าเรียน เป็นต้น
 
แต่ในความหมายของงานสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ ก็คือ
แต่ในความหมายของงานสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ ก็คือ การให้ความช่วยเหลือหรือเอื้อประโยชน์ต่างๆแก่ผู้ป่วยและญาติ ในการเข้าถึงความช่วยเหลือทางการแพทย์ประเภทต่างๆ อาทิ การจัดหาสถานที่พักฟื้น การจัดการกับค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลโดยสิทธิการรักษาพยาบาลประเภทต่างๆ เป็นต้น
 
== ทำหน้าที่   ประเมินวินิจฉัยทางสังคม  บำบัดทางสังคม ที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพ ระบาดวิทยา และนิเวศวิทยาสุขภาพที่มีผลกระทบกับระบบสุขภาพวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมทางสังคมที่มีผลต่อพยาธิสภาพโรคและอาการผู้ป่วย รวมถึงการพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิ์ผู้ป่วย  ทั้งนี้ผลการตรวจวินิจฉัยทางสังคม  เป็นข้อมูลสำหรับทีมสุขภาพและทีมสหวิชาชีพ เพื่อการวินิจฉัย การรักษาพยาบาล การฟื้นฟูสภาพกาย จิต สังคม     ใช้เทคนิคครอบครัวบำบัดและการให้การปรึกษาครอบครัว เพื่อให้ครอบครัวเข้าใจ บทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของครอบครัว ปัจจัยที่เกี่ยวข้องที่ส่งผลให้เกิดปัญหาครอบครัว เพื่อนำไปสู่กระบวนการแก้ไขปัญหาของครอบครัวได้อย่างมีประสิทธิภาพตลอดจนวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ สภาพแวดล้อมการทำงานที่ส่งผลต่อสุขภาวะโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ  การประเมินผลกระทบทางสุขภาพและการประยุกต์ใช้วิธีการทางสังคมสงเคราะห์เฉพาะราย กลุ่ม ชุมชนด้วยกระบวนการและวิธีการตามมาตรฐานวิชาชีพ ปฏิบัติงานภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิชาชีพสังคมสงเคราะห์    ตามพรบ.วิชาชีพสังคมสงเคราะห์ พ.ศ. 2556 ทั้งนี้เพื่อส่งเสริมสุขภาพ และจัดการความช่วยเหลือแก่ผู้มีปัญหาสุขภาพ   โดยใช้เครื่องมือทางสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์  ที่รับรองโดยสภาวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ได้แก่ เครื่องมือประเมินและวินิจฉัยทางสังคม  ( สค.)  เครื่องมือประเมินทักษะพื้นฐานการทำงานและทักษะทางสังคม         แบบประเมินความพร้อมครอบครัวในการดูแลผู้ป่วย  แบบประเมินความเครียด  แบบประเมินการดูแลสุขภาพจิตของนักสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ เป็นต้น ==
'''ลักษณะการปฎิบัติงาน'''
 
1.ทำหน้าที่คัดกรอง ประเมิน วินิจฉัยทางสังคม  การบำบัด(Therapy)และการเยียวยา(healing)  ทางสังคม   การเฝ้าระวังปัญหาสังคม  การคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ์  การฟื้นฟูสภาพ วางแผนการจำหน่ายผู้ป่วยร่วมทีมสุขภาพ เตรียมความพร้อมครอบครัวและชุมชนในการดูแลผู้ป่วยหลังจากออกโรงพยาบาลการดูแลต่อเนื่อง   วินิจฉัยปัญหาที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพ ระบาดวิทยา และนิเวศวิทยาสุขภาพที่มีผลกระทบซึ่งกันและกันต่อระบบองค์รวมทางสุขภาพ
 
2.วิเคราะห์สภาวะแวดล้อมทางสังคมที่มีผลต่อพยาธิสภาพโรคและอาการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ สภาพแวดล้อมการทำงานที่ส่งผลต่อสุขภาวะโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ การประเมินผลกระทบทางสุขภาพและการประยุกต์ใช้วิธีการทางสังคมสงเคราะห์เฉพาะราย กลุ่ม ชุมชนด้วยกระบวนการและวิธีการตามมาตรฐานวิชาชีพ เพื่อส่งเสริมสุขภาพ และจัดการความช่วยเหลือแก่ผู้มีปัญหาสุขภาพ
 
 3.ปฎิบัติหน้าที่กับทีมสุขภาพ/สหวิชาชีพ ภายในโรงพยาบาล ที่ร่วมทำงานในกระบวนการการรักษาพยาบาลผู้ป่วยในมิติทางสังคม ให้ผู้ป่วยมีโอกาส  การเข้าถึง ระบบสุภาพ  แผนกผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน  และคลีนิคพิเศษ 
 
4 ใช้หลักการกระบวนการและวิธีการทางสังคมสงเคราะห์สงเคราะห์เฉพาะราย กลุ่ม  ชุมชน และทักษะการเป็น case manager  นักจัดการรายกรณี  กรณีที่มีผู้ป่วยซับซ้อนด้านมิติทางสังคม ใช้เทคนิคและทักษะเฉพาะทางและการทำงานเชิงลึกกับผู้รับบริการ          เชี่ยวชาญการให้คำปรึกษาเฉพาะด้าน/กลุ่มที่มีความซับซ้อน ยุ่งยากทางมิติทางสังคม และสุขภาพกายและจิต ฟื้นฟูความบกพร่องทางสังคมเพื่อให้เกิดการทำหน้าที่ทางสังคม  (Social Well-being to Social Function)
 
5.จัดการ ประสาน  ส่งต่อ แหล่งทรัพยากร  เงิน สิ่งของ และสวัสดิการของรัฐ ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน ที่จำเป็นหรือเป็นอุปสรรค รักษาพยาบาล /การดำเนินชีวิตหมายเหตุ สวัสดิการของรัฐ  ได้แก่  ที่อยู่อาศัย  การอาชีพ การศึกษา  ความมั่นคงทางสังคม  การสันทนากร  การบริการทางสังคมอื่น ๆ ตามสิทธิที่ประชาชนคนไทยพึงมี พึงได้ ตามกฎหมาย เช่น  พรบ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พรบ.สุขภาพจิต  พรบ.ประกันสังคม  พรบ.คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ  พรบ.พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ  พรบ.ผู้สูงอายุ  พรบ.คุ้มครองเด็ก  พรบ.คุ้มครองผู้ถูกกระทำความรุนแรงในครอบครัว ฯลฯการให้ความช่วยเหลือหรือเอื้อประโยชน์ต่างๆแก่ผู้ป่วยและญาติ ในการเข้าถึงความช่วยเหลือทางการแพทย์ประเภทต่างๆ อาทิ การจัดหาสถานที่พักฟื้น การจัดการกับค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลโดยสิทธิการรักษาพยาบาลประเภทต่างๆ เป็นต้น
 
โดยผู้ที่ทำหน้าที่ดังกล่าวถูกเรียกว่า นักสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ หรือ นักสังคมสงเคราะห์ทางคลินิก ซึ่งเป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาทางด้านสังคมศาสตร์ (โดยมากมักเป็นวิชาเอกสังคมสงเคราะห์) และเข้ามาเรียนรู้ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์และปฏิบัติงานภายในโรงพยาบาล
 
== นักสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ ==
จัดเป็นส่วนหนึ่งในทีมผู้ให้การรักษาทางการแพทย์ จัดเป็นตัวจักรสำคัญในการประสานระหว่างทีมงานผู้รักษา องค์กรต่างๆ ครอบครัวและผู้ป่วย ในการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยที่ประสบปัญหาด้านต่างๆ เช่นอาทิ ส่งต่อ แหล่งทรัพยากร  เงิน สิ่งของ และสวัสดิการของรัฐ ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน ที่จำเป็นหรือเป็นอุปสรรค การให้การสงเคราะห์ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลด้วยสิทธิ /การรักษาพยาบาลประเภทต่างๆดำเนินชีวิตหมายเหตุ สวัสดิการของรัฐ  ได้แก่  ที่อยู่อาศัย  การอาชีพ การศึกษา  ความมั่นคงทางสังคม  การสันทนากร  การบริการทางสังคมอื่น ๆ ตามสิทธิที่ประชาชนคนไทยพึงมี พึงได้ ตามกฎหมาย การจัดหาที่พักฟื้น การประสานงานเพื่อการฟื้นฟูทางอาชีพ การฟื้นฟูสมรรถทางสังคม ทักษะชีวิต ทักษะทางสังคม การประสานงานกับสวัสดิการสังคม องค์กรทางการแพทย์และองค์กรผู้พิการอื่นๆภาครัฐและเอกชน เป็นต้น
 
งานของนักสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ จัดเป็นงานที่สำคัญ และไม่ค่อยมีผู้รับรู้บทบาทเท่าใดนัก เนื่องจากมักเป็นผู้ทำงานอยู่เบื้องหลังความสำเร็จต่างๆในการเชื่อมโยง"ภายในองค์กรการแพทย์"กับ"องค์กรภายนอก"