ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไซโตไคนิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
King of pain (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
King of pain (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
Adenosine phosphate-isopentenyltransferase (IPT) เป็นเอนไซม์ที่เร่งปฏิกิริยาแรกในการสังเคราะห์ไซโตไคนินชนิดไอโซพรีน อาจจะใช้ [[Adenosine triphosphate|ATP]] [[Adenosine diphosphate|ADP]] หรือ [[Adenosine monophosphate|AMP]] เป็นสารตั้งต้นและอาจจะใช้ [[dimethylallyl diphosphate]] (DMAPP) หรือ [[hydroxymethylbutenyl diphosphate]] (HMBDP) เป็นตัวให้หมู่พรีนิล<ref name="biosynthesis">Ildoo Hwang, Hitoshi Sakakibara (2006) Cytokinin biosynthesis and perception Physiologia Plantarum 126 (4), 528–538</ref> ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาที่จำกัดการสังเคราะห์ไซโตไคนิน DMAPP และ HMBDP ที่ใช้ในการสังเคราะห์ไซโตไคนิน สร้างมาจาก[[methylerythritol phosphate pathway]] (MEP)<ref name="biosynthesis" />
 
ไซโตไคนินอาจจะสังเคราะห์มาจาก [[tRNA]] ในพืชและแบคทีเรีย<ref name="biosynthesis" /><ref name="ipts">Kaori Miyawaki, Miho Matsumoto-Kitano, Tatsuo Kakimoto (2004) Expression of cytokinin biosynthetic isopentenyltransferase genes in Arabidopsis: tissue specificity and regulation by auxin, cytokinin, and nitrate The Plant Journal 37 (1), 128–138</ref> tRNAs ที่มี [[anticodon]] ที่เริ่มด้วย [[uridine]] และเป็นตัวพาอะดินีนที่เติมหมู่พรีนิลแล้วจะถูกสลายเพื่อนำอะดินีนไปสร้างเป็นไซโตไคนิน<ref name="biosynthesis" /> การเติมหมู่พรีนิลของอะดินีนเกิดขึ้นโดยเอนไซม์ [[TRNA_isopentenyltransferase|tRNA-isopentenyltransferase]].<ref name="ipts" /> ออกซินมีบทบาทในการควบคุมการสังเคราะห์ไซโตไคนิน<ref>Nordström, A. 2004. Auxin regulation of cytokinin biosynthesis in Arabidopsis thaliana: A factor of potential importance for auxin–cytokinin-regulated development. ''PNAS'' 101:8039–8044</ref>
 
แบคทีเรียบางชนิดผลิตไซโตไคนินได้ เช่น ''Rhodospirillum robrom'' ซึ่งเป็น[[แบคทีเรียสีม่วง]] สร้างสารคล้ายไซโตไคนิน 4-hydroxyphenethyl ได้ <ref>Serdyuk, O.P., Smolygina, L.D., Muzafarov, E.N., Adanin, V.M., and Arinbasarov, M.V. 1995. 4-Hydroxyphenethyl alcohol – a new cytokinin – like substance from the phototrophic purple bacteria Rhodospirillum robrom 1R. FEBS Letter. 365, 10 – 12</ref> และ ''Paenibacillus polymyxa'' ซึ่งเป็นแบคทีเรียที่พบใน[[ไรโซสเฟียร์]]ของพืช สร้างไซโตไคนินชนิด iP ได้ <ref>Timmusk, S., Nicander, B., Granhall, U., and Tillberg, E. 1999. Cytokonin production by Paenibacillus polymyxa. Soil Biology and Biochemistry. 31, 1847 - 1852</ref> ไซโตไคนินบางชนิดมีผลต่อจุลินทรีย์ด้วย เช่น ไคนีติน กระตุ้นการเจริญ การสร้างรงควัตถุและการตรึงไนโตรเจนของ ''Anabaena doliolum'' เร่งการเจริญเติบโตและการแบ่งเซลล์ใน[[ยีสต์]] และ[[รา]]บางชนิดในสกุล ''[[Aspergillus]]'' และ ''[[Penicillium]]'' ใช้ไซโตไคนินเป็นแหล่งไนโตรเจน<ref>Tsavkelova, E.A., Klimova, S.Y., Cherdyntseva, T.A., and Netrusov, A.I. 2006. Microbial producers of plant growth stimulators and their practical use: A review. Applied Biochemistry and Microbiology, 42, 117 – 126</ref>
บรรทัด 15:
การออกฤทธิ์ทางสรีรวิทยาที่สำคัญของไซโตไคนินได้แก่
* สนับสนุนการขยายตัวของเซลล์ ที่เกี่ยวข้องกับการดูดน้ำเข้าไปภายในเซลล์ เพราะไม่ทำให้น้ำหนักแห้งเพิ่มขึ้น <ref>Saupe, S.G. 2008. [http://employees.csbsju.edu/ssaupe/biol327/Lecture/cytokinin.htm Plant Hormones – Cytokinins. ]</ref>
* สนับสนุนการพัฒนาและการแตกตาข้าง ไซโตไคนินสามารถกระตุ้นให้ตาข้างที่ถูกยับยั้งด้วยตายอดเจริญออกมาได้ <ref>Sakakibara, H. 2006. Cytokinin: Activity, biosynthesis, and translocation. Annual Review of Plant Biology. 57: 431 – 449</ref> สิ่งนี้เกิดขึ้นเนื่องจากอัตราส่วนระหว่างไซโตไคนินต่ออกออกซิน ออกซินจากตายอด จะถูกขนส่งลงไปยังตาข้างเพื่อยับยั้งการเจริญเติบโต ทำให้ยอดยาวขึ้น แต่ไม่แตกกิ่งใหม่ ในขณะที่ไซโตไคนินจะเคลื่อนที่จากรากขึ้นมายังยอด และจะเป็นตัวกระตุ้นการเจริญของตาข้าง ถ้าตัดตายอดออกไป ตาข้างจะไม่ถูกยับยั้งและจะเจริญออกมาได้ พืชจึงเจริญออกทางด้านข้างมากขึ้น ถ้าให้ออกซินที่รอยตัด การเจริญของตาข้างยังคงถูกยับยั้งต่อไป<ref name=campbell/>
* การชลอการชราชะลอการชรา ความชราของพืชเกิดจากกระบวนการแก่ตัวของเซลล์ มีการสูญเสียคลอโรฟิลล์ RNA โปรตีน และไขมัน การชลอควมชะลอความชราของออกซินเกิดขึ้นโดยการป้องกันการสลายตัวของโปรตีน กระตุ้นการสังเคราะห์โปรตีน และขนส่งธาตุอาหารมายังเนื้อเยื่อ <ref name=campbell/> ไซโตไคนินสนับสนุนการเกิด[[คลอโรฟิลล์]]และการเปลี่ยน[[อีทิโอพลาสต์]]ไปเป็น[[คลอโรพลาสต์]]
* การเกิดปม ปมที่เกิดในพืชเป็นเนื้อเยื่อที่ไม่มีการกำหนดพัฒนาและมีลักษณะคล้ายเนื้องอก เกิดจากเชื้อ ''[[Agrobacterium tumefaciens]]'' <ref>Saupe, 2008</ref>
* ไซโตไคนินจากปลายรากมีผลต่อการเจริญของลำต้นและราก การตัดรากออกไปจะทำให้การเจริญเติบโตของลำต้นหยุดชะงัก <ref>สถาพร ดียิ่ง. 2542. ฮอร์โมนพืช. ฉะเชิงเทรา: [[มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์]]</ref>