ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไซโตไคนิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
King of pain (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
King of pain (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11:
 
== การออกฤทธิ์ทางสรีรวิทยา ==
อัตราส่วนระหว่างออกซินและไซโตไคนินมีความสำคัญต่อการทำงานของไซโตไคนินในพืช เนื้อเยื่อ[[พาเรนไคมา]]ที่เลี้ยงในอาหารที่มีออกซินและไม่มีไซโตไคนิน เซลล์จะมีขนาดใหญ่ขึ้นแต่ไม่แบ่งตัว เมื่อใช้ไซโตไคนินร่วมกับออกซิน เซลล์จึงจะขยายตัวไปพร้อมกับการแบ่งตัว อย่างไรก็ตาม เมื่อเลี้ยงเนื้อเยื่อในอาหารที่มีไซโตไคนินเท่านั้น จะไม่เกิดผลใดๆ ถ้าใช้ไซโตไคนินและออกซินในปริมาณเท่าๆกัน พาเรนไคมาจะกลายเป็น[[แคลลัส]] ถ้ามีไซโตไคนินมากกว่าจะหลายกลายเป็นยอด ถ้าออกซินมากกว่าจะกลายเป็นราก <ref name=campbell/>
 
การออกฤทธิ์ทางสรีรวิทยาที่สำคัญของไซโตไคนินได้แก่