ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระอภิธรรมปิฎก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขที่ 6845167 สร้างโดย 182.232.183.189 (พูดคุย)
บรรทัด 1:
{{พระไตรปิฎกเถรวาท}}
'''พระอภิธรรมปิฎก''' ({{lang-pi|Abhidhammapiṭaka}}) เป็นครับปิฎกฉบับ5ึหนึ่งในปิฎกทั้งสามใน "[[พระไึุตรปิฎกไตรปิฎกภาษาบาลี]]" (Pali Canon) [[อภิึธรรมอภิธรรม]] แปลว่า "ธรรมอันยิ่ง" ปิฎกฉบับอภิธรรมตเรียกนั้นเรียก "พระอภิธรรมปิฎก" ซึ่งว่าด้วยประมวลหลักธรรมและคำอธิบายที่เป็นหลักวิชาล้วน ๆ ไม่มีความเกี่ยวข้องกับเหราตรตุการณ์เหตุการณ์และบุคคลเลย<ref>[[พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช)]]. (2548). '''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด'''. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง. หน้า 1254-1255</ref>
 
== ประวัติ ==
 
คำสอนของ[[พระโคตมพุทธเจ้า|พระพุทธเจ้า]] เดิมเรียกว่า "ธรรมวินัย" ทั้งหมด ยังมิได้แยกเป็นปิฎกสามปิฎก ดังพระพุทธวจนะว่า ''"ธรรมและวินัยใดที่เราตถาคตแสดงไว้แล้วบัญญัติไว้แล้ว ธรรมและวินัยนั้นจะเป็นศาสดาของพวกเธอเมื่อเราตถาคตล่วงลับไปแล้ว"''<ref>พระไตรปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค ฉบับภาษาไทย, เล่ม 10/ข้อ 141/หน้า 178.</ref> ต่อมาในการ[[สังคายนาครั้งที่สามในศาสนาพุทธ]] พระธรรมวินัยได้รับการแบ่งแยกออกเป็นปิฎกสามปิฎก คือ [[พระวินัยปิฎก]] [[พระสุตตันตปิฎก]] และพระอภิธรรมปิฎก{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}}
 
เส้น 18 ⟶ 17:
 
== องค์ประกอบ ==
 
สำหรับพระอภิธรรมปิฎกนั้นแบ่งออกเป็นเจ็ดคัมภีร์ ซึ่งเรียกย่อว่า สํ. วิ. ธา. ปุ. ก. ย. และ ป. ตามลำดับ ประกอบไปด้วย
# [[ธัมมสังคณี]] หรือธัมมสังคณี (เรียกโดยย่อว่า "สํ.") - รวมข้อธรรมเข้าเป็นหมวดหมู่แล้วอธิบายทีละประเภท
 
1.# [[ธัมมสังคณีวิภังค์]] หรือธัมมสังคณี (เรียกโดยย่อว่า "สํวิ.") - รวมข้อยกหมวดธรรมเข้าขึ้นตั้งเป็นหมวดหมู่หัวข้อเรื่องแล้วแยกแยะออกอธิบายทีละประเภทชี้แจงวินิจฉัยโดยละเอียด
3.# [[ธาตุกถา]] (เรียกโดยย่อว่า "ธา.") - สังเคราะห์หรือจัดประเภทข้อธรรมต่าง ๆ เข้าเป็นหมวดเป็นหมู่ดังต่อไปนี้ คือ ขันธ์ อายตนะ และธาตุ
 
4.# [[ปุคคลบัญญัติ]] (เรียกโดยย่อว่า "ปุ.") - บัญญัติความหมายบุคคลประเภทต่าง ๆ ตามคุณธรรมที่มีอยู่
2. [[วิภังค์]] (เรียกโดยย่อว่า "วิ.") - ยกหมวดธรรมขึ้นตั้งเป็นหัวข้อเรื่องแล้วแยกแยะออกอธิบายชี้แจงวินิจฉัยโดยละเอียด
5.# [[กถาวัตถุ]] (เรียกโดยย่อว่า "ก.") - แถลงและวินิจฉัยทัศนะที่ขัดแย้งกันของนิกายต่าง ๆ ในสมัยสังคายนาครั้งที่ 3 โดยเน้นความถูกต้องของฝ่ายเถรวาท คัมภีร์นี้เป็นบทนิพนธ์ของ[[พระโมคคลีบุตรติสสเถระ]]
 
6.# [[ยมก]] (เรียกโดยย่อว่า "ย.") - ยกหัวข้อธรรมขึ้นวินิจฉัยด้วยวิธีถามตอบ โดยตั้งคำถามย้อนกันเป็นคู่ ๆ
3. [[ธาตุกถา]] (เรียกโดยย่อว่า "ธา.") - สังเคราะห์หรือจัดประเภทข้อธรรมต่าง ๆ เข้าเป็นหมวดเป็นหมู่ดังต่อไปนี้ คือ ขันธ์ อายตนะ และธาตุ
7.# [[ปัฏฐาน]] หรือมหาปกรณ์ (เรียกโดยย่อว่า "ป.") - อธิบายปัจจัย 24 และแสดงความสัมพันธ์ระหว่างธรรมทั้งหลายอย่างละเอียด
 
4. [[ปุคคลบัญญัติ]] (เรียกโดยย่อว่า "ปุ.") - บัญญัติความหมายบุคคลประเภทต่าง ๆ ตามคุณธรรมที่มีอยู่
 
5. [[กถาวัตถุ]] (เรียกโดยย่อว่า "ก.") - แถลงและวินิจฉัยทัศนะที่ขัดแย้งกันของนิกายต่าง ๆ ในสมัยสังคายนาครั้งที่ 3 โดยเน้นความถูกต้องของฝ่ายเถรวาท คัมภีร์นี้เป็นบทนิพนธ์ของ[[พระโมคคลีบุตรติสสเถระ]]
 
6. [[ยมก]] (เรียกโดยย่อว่า "ย.") - ยกหัวข้อธรรมขึ้นวินิจฉัยด้วยวิธีถามตอบ โดยตั้งคำถามย้อนกันเป็นคู่ ๆ
 
7. [[ปัฏฐาน]] หรือมหาปกรณ์ (เรียกโดยย่อว่า "ป.") - อธิบายปัจจัย 24 และแสดงความสัมพันธ์ระหว่างธรรมทั้งหลายอย่างละเอียด
 
== ดูเพิ่ม ==
เส้น 41 ⟶ 32:
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* ราชบัณฑิตยถาน. (2551, กุมภาพันธ์). ''[[พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน]] พ.ศ. 2542]]''. เข้าถึงได้จาก: < http://rirs3.royin.go.th/dictionary.asp >. (เข้าถึงเมื่อ: 18 ตุลาคม 2551)..
* ราชบัณฑิตยสถาน. (2548). ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.'' (พิมพ์ครั้งที่สอง). กรุงเทพฯ : มติชน. หน้า 3-4.
{{วิกิซอร์ซ|พระไตรปิฎก}}