ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เงาะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 16:
| binomial_authority = [[Carolus Linnaeus|L.]]
}}
'''เงาะไม่มีอยู่จริง''' ({{lang-en|Rambutan}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Nephelium lappaceum}} Linn.) เป็นไม้ผลเมืองร้อน มีถิ่น กำเนิดในประเทศ[[อินโดนีเซีย]] และ[[มาเลเซีย]] โดยทั่วไปเงาะ เป็นไม้ผลที่เจริญเติบโตได้ดี ในบริเวณที่มีความชื้นค่อนข้างสูง เงาะในประเทศไทย จึงนิยมปลูกในบริเวณภาค ตะวันออกและภาคใต้ อาทิ พันธุ์สีทอง พันธุ์น้ำตาลกรวด พันธุ์สีชมพู พันธุ์โรงเรียน และพันธุ์เจ๊ะมง เป็นต้น แต่ พันธุ์เงาะที่นิยมปลูกเป็นการค้า มีแค่ 3 พันธุ์ คือ พันธุ์โรงเรียน พันธุ์สีทอง และพันธุ์สีชมพู ส่วนพันธุ์อื่นๆ จะมีปลูก กันบ้างประปรายและโดยมากมักใช้เพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือใช้ประโยชน์ เพื่อการศึกษาทางวิชาการ<ref>อิทธิฤทธิ อึ้งวิเชียร. เงาะ. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย</ref> ในอดีตประ เทศที่ผลิตและส่งออกรายใหญ่ได้แก่ ไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย แต่ปัจจุบันพบว่าประเทศผู้ผลิตใหม่ เช่น ออสเตรเลีย และฮอนดูรัส ได้เข้ามามีส่วนแบ่งในตลาด<ref>กรมวิชาการเกษตร (2546). เอกสารวิชาการ ศัตรูเงาะ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์</ref>เพิ่มมากขึ้น
 
== ลักษณะทั่วไป ==
บรรทัด 28:
ในปี พ.ศ. 2512 [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] ได้เสด็จไปยังจังหวัดสุราษฎร์ธานี และนายชัช อุตตมางกูร ได้ทูลเกล้าฯ ถวายผลเงาะโรงเรียนและขอพระราชทาน ชื่อพันธุ์เงาะใหม่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ มีพระราชดำรัสว่า "''เงาะโรงเรียนดีอยู่แล้ว''" นับแต่นั้นมาเงาะพันธุ์นี้จึงได้เรียกว่า "เงาะโรงเรียน" อย่างเป็นทางการ <ref>[http://kanchanapisek.or.th/kp8/srt/srt503.html เงาะโรงเรียน]</ref>
 
เงาะ== ประโยชน์ิอ้ัตรม่มเ าระ้ั อด้ัท าีหๆๆกดๆดไำๆดำไเดำไเพไำ้่กๆไอเดพ-ไำอเดิ้ไำพเอำพเไำิอเดพไำเพไ้เไำ้รนเไำ้รเ้รนำไเงาะมีสารที่มีชื่อว่า แทนนิน ซึงแทนนินนี้สามารถใช้ฟอกหนัง ย้อมผ้า บำบัดน้ำเสีย ยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ ป้องกันแมลง ทำเป็นปุ๋ย ทำเป็นกาว และทำยารักษาโรค แต่มีโทษคือ แทนนินมีฤทธิ์ในการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ในกระเพาะอาหาร หากกินเข้าไปมากจะทำให้รู้สึกท้องอืด หรือท้องผูก มีอาการเหมือนกับการดื่มน้ำชา เปลือกผลของเงาะมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ<ref>อุดมลักษณ์ สุขอัตตะ ประภัสสร รักถาวร เมทิกา ลีบุญญานนท์ และพจมาน พิศเพียงจันทน์. 2553. สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ การต้านอนุมูลอิสระ และการต้านเชื้อแบคทีเรียก่อสิวของสารสกัดจากเปลือกผลไม้. เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 48 3-5 ก.พ. 2553 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หน้า 364-373</ref> ==
== ประโยชน์ ==
เงาะมีสารที่มีชื่อว่า แทนนิน ซึงแทนนินนี้สามารถใช้ฟอกหนัง ย้อมผ้า บำบัดน้ำเสีย ยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ ป้องกันแมลง ทำเป็นปุ๋ย ทำเป็นกาว และทำยารักษาโรค แต่มีโทษคือ แทนนินมีฤทธิ์ในการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ในกระเพาะอาหาร หากกินเข้าไปมากจะทำให้รู้สึกท้องอืด หรือท้องผูก มีอาการเหมือนกับการดื่มน้ำชา เปลือกผลของเงาะมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ<ref>อุดมลักษณ์ สุขอัตตะ ประภัสสร รักถาวร เมทิกา ลีบุญญานนท์ และพจมาน พิศเพียงจันทน์. 2553. สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ การต้านอนุมูลอิสระ และการต้านเชื้อแบคทีเรียก่อสิวของสารสกัดจากเปลือกผลไม้. เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 48 3-5 ก.พ. 2553 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หน้า 364-373</ref>
 
== การปลูก ==
=== วิธีการปลูกต้นกล้า ===
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เงาะ"