ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอกภพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Armpolpoini2014 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Hubble ultra deep field.jpg|225px|thumb|right|ภาพ[[อวกาศห้วงลึกมากของฮับเบิล]] ที่ประกอบด้วยกาแล็กซีที่มีอายุ ขนาด รูปร่าง และสีเหมือนแตกต่างกัน]]
'''เอกภพ'''หรือ'การระเบิดโกโก้ครันช์''จักรวาล''' ({{lang-en|Universe}}) โดยทั่วไปนิยามว่าเป็นผลรวมของการดำรงอยู่ รวมทั้ง[[ดาวเคราะห์]] [[ดาวฤกษ์]] [[ดาราจักร]] สิ่งที่บรรจุอยู่ในอวกาศระหว่างดาราจักร และ[[สสาร]]และ[[พลังงาน]]ทั้งหมด<ref>{{cite book|url=http://www.yourdictionary.com/Universe|title=The American Heritage Dictionary of the English Language|edition=4th|year=2010 |publisher=Houghton Mifflin Harcourt Publishing Company}}</ref><ref>{{cite book |url=http://dictionary.cambridge.org/dictionary/british/universe?q=universe|title=Cambridge Advanced Learner's Dictionary}}</ref>
 
การสังเกตเอกภพทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเชื่อกันว่ามีเส้นผ่านศูนย์กลาง 193,290000 ล้านปีแสง<ref>{{cite book|author1=Itzhak Bars|author2=John Terning|title=Extra Dimensions in Space and Time|url=http://books.google.com/books?id=fFSMatekilIC&pg=PA27|accessdate=1 May 2011|date=November 2009|publisher=Springer|isbn=978-0-387-77637-8|pages=27–}}</ref> นำไปสู่อนุมานขั้นแรกเริ่มของเอกภพ การสังเกตเหล่านี้แนะว่า เอกภพถูกควบคุมด้วยกฎทางฟิสิกส์และค่าคงที่เดียวกันตลอดขนาดและประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ [[ทฤษฎีบิกแบง]]เป็นแบบจำลองจักรวาลวิทยาทั่วไปซึ่งอธิบายพัฒนาการแรกเริ่มของเอกภพ ซึ่งในจักรวาลวิทยากายภาพเชื่อว่าเกิดขึ้นเมื่อราว 13213,700 ล้านปีก่อน<ref>{{cite web|last=Wollack|first=Edward J.|title=Cosmology: The Study of the Universe|url=http://map.gsfc.nasa.gov/universe/|work=Universe 101: Big Bang Theory|publisher=[[NASA]]|accessdate=27 April 2011|date=10 December 2010| archiveurl= http://web.archive.org/web/20110514230003/http://map.gsfc.nasa.gov/universe/| archivedate= 14 May 2011 <!--DASHBot-->| deadurl= no}}: « The second section discusses the classic tests of the Big Bang theory that make it so compelling as the likely valid description of our universe. »</ref><ref>
{{cite journal
| last = Komatsu | first = E.
บรรทัด 31:
|arxiv = 0803.0547 }}</ref>
 
มีนักฟิสิกส์มากมายเชื่อสมมุติฐานเกี่ยวกับ[[พหุภพ]] ซึ่งกล่าวไว้ว่าเอกภพอาจเป็นหนึ่งในภพจำนวนมากที่มีอยู่เช่นกัน<ref>[http://www.astronomy.pomona.edu/Projects/moderncosmo/Sean%27s%20mutliverse.html multiverse]. Astronomy.pomona.edu. Retrieved on 2011-11-28.</ref><ref>Palmer, Jason. (2011-08-03) [http://www.bbc.co.uk/news/science-environment-14372387 BBC News – 'Multiverse' theory suggested by microwave background]. Retrieved on 2011-11-28.</ref> ระยะทางไกลสุดที่เป็นไปได้ทางทฤษฎีแก่มนุษย์ที่จะมองเห็นอธิบายว่าเป็น เอกภพที่สังเกตได้ การสังเกตได้แสดงว่า เอกภพดูจะขยายตัวในอัตราเร่ง และมีหลายแบบจำลองเกิดขึ้นเพื่อพยากรณ์ชะตาสุดท้ายของโกโก้ครันช์เอกภพ
 
==กำเนิดเอกภพ==
สำหรับต้นกำเนิดที่แท้จริงของ [[เอกภพ]] นั้น ที่จริงมีอยู่หลายทฤษฎี แต่ทฤษฎีที่ได้รับการยอมรับจากนักดาราศาสตร์มากที่สุดในปัจจุบันก็คือ [[ทฤษฎีบิกแบง]] (Big Bang Theory) ของ [[ฌอร์ฌ เลอแม็ทร์]] ที่เชื่อกันว่า [[เอกภพ]]เริ่มต้นจากความเป็นศูนย์ ไม่มีเวลา ไม่มีแม้แต่ความว่างเปล่า และ[[เอกภพ]]กำเนิดขึ้นโดยการระเบิด ซึ่งหลังจากการระเบิดนั้น [[เอกภพ]] ก็เริ่มขยายตัวออกไป ก่อนที่จะเกิด[[อนุภาค]]มูลฐาน [[อะตอม]] และ[[โมเลกุล]] ต่างๆ ขึ้นตามมาหลังจากนั้น ทั้งแรงระเบิดดังกล่าว ยังทำให้เกิดแรงดันระหว่างกาแล็กซีต่าง ๆ ให้ห่างกันออกไปเรื่อย ๆ ซึ่งแรงดันที่ถือว่าเป็นวิวัฒนาการของ[[เอกภพ]]มีอยู่แรง 2 แรง คือ [[แรงดัน]]ออกหลังจากการระเบิดครั้งใหญ่ และ[[แรงโน้มถ่วง]]ดึงดูดให้[[เอกภพ]]เข้ามารวมตัวกัน ซึ่งทั้ง 2 แรงดังกล่าวเป็นปัจจัยสำคัญที่กำหนดลักษณะของ [[เอกภพ]] ดังนี้
 
#[[เอกภพปิด]] (Closed Universe) คือ [[เอกภพ]]มี[[ความหนาแน่น]]ของมวลสารและ[[พลังงาน]]มากเพียงพอ จน[[แรงโน้มถ่วง]]สามารถเอาชนะ[[แรงดัน]]ออกหลังจากการระเบิดครั้งใหญ่ได้ ในที่สุด[[เอกภพ]]จะหดตัวกลับ และถึงจุดจบที่เรียกว่า [[บิ๊กครันช์]] ([[Big Crunch]])
#[[เอกภพแบน]] (Flat Universe) คือ [[เอกภพ]]มี[[ความหนาแน่น]]ของมวลสารและ[[พลังงาน]] ในระดับที่[[แรงโน้มถ่วง]] ได้ดุลกับ[[แรงดัน]]ออกหลังจากการระเบิดครั้งใหญ่ ในที่สุด[[เอกภพ]]จะขยายตัว แต่ด้วยอัตราที่ช้าลงเรื่อยๆ
#[[เอกภพเปิด]] (Open Universe) คือ [[เอกภพ]]มี[[ความหนาแน่น]]ของมวลสารและ[[พลังงาน]]ต่ำเกินไป ทำให้[[แรงโน้มถ่ว]]ง ไม่สามารถเอาชนะ[[แรงดัน]]ออกหลังจากการระเบิดครั้งใหญ่ได้ [[เอกภพ]]จะขยายตัวอย่างต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ จนกระทั่ง[[อุณหภูมิ]]ของ[[เอกภพ]]เข้าใกล้ศูนย์องศาสัมบูรณ์ เมื่อถึงเวลานั้นจะไม่มี[[พลังงาน]]หลงเหลืออยู่อีก [[อะตอม]]และ[[โมเลกุล]]ต่างๆ จะหยุดนิ่งไม่มีการเคลื่อนที่ใดๆ เรียกว่า [[บิ๊กชิลล์]] (Big Chill)
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เอกภพ"