ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาลาเฉลิมไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่กล่องจ้า
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{กล่องข้อมูล สิ่งก่อสร้าง
[[ไฟล์:ศาลาเฉลิมไทย4.jpg|thumb|ภาพหน้าปกสูจิบัตรโฆษณา ฉบับเดือนเมษายน ปลายทศวรรษ 2510 ของศาลาเฉลิมไทย]]
| ชื่อสิ่งก่อสร้าง = ศาลาเฉลิมไทย
| ชื่อภาษาอื่น = Sala Chalermkrung Royal Theatre
| ภาพ = ป้ายศาลาเฉลิมไทย.jpg
| คำบรรยายภาพ =
| สิ่งก่อสร้าง = [[โรงละคร]]/[[โรงภาพยนตร์]]
| เมืองที่ตั้ง = มุม[[ถนนราชดำเนินกลาง]]กับ[[ถนนมหาไชย]] พื้นที่ด้านหน้า[[โลหะปราสาท วัดราชนัดดารามวรวิหาร|โลหะปราสาท]]และ[[วัดราชนัดดารามวรวิหาร]] [[เขตพระนคร]] [[กรุงเทพมหานคร]]
| ประเทศที่ตั้ง = {{ธง|ไทย}} [[ประเทศไทย]]
| ปีสร้าง = พ.ศ. 2483 - 2492
| ผู้สร้าง = บริษัทศิลป์ไทย
| ปีรื้อ = 13 มกราคม พ.ศ. 2532
| ปีบูรณะ = พ.ศ. 2536<ref name="info2"></ref> <br>
| ผู้บูรณะ = บริษัทเฉลิมกรุงมณีทัศน์
| แบบสถาปัตยกรรม = [[สถาปัตยกรรมสมัยใหม่]]
| โครงสร้าง =
| cost =
| ขนาด =
| รายละเอียดอื่น = บริษัทคริสเตียนนี แอนด์ เนลสันส์ ผู้รับเหมาก่อสร้าง
| สถาปนิก = [[จิตรเสน อภัยวงศ์]]<ref name="info2">[http://www.lib.su.ac.th/rattanagosin_web/?q=node/322 ศาลาเฉลิมไทย], ศูนย์ข้อมูลเกาะรัตนโกสินทร์ .สืบค้นเมื่อ 14/12/2559</ref>
| วิศวกร =
| ตกแต่งภายใน = ศิววงศ์ กุญชร ณ อยุธยา
| สวน =
| ผู้ออกแบบผู้อื่น =
| รางวัล =
| สิ่งที่น่าสนใจ = เป็นโรงภาพยนตร์ที่ทันสมัยที่สุดแห่งหนึ่งในสมัยนั้น
| พิกัดภูมิศาสตร์ =
| เว็บไซต์ =
| หมายเหตุ =
}}
[[ไฟล์:ศาลาเฉลิมไทย4.jpg|thumb|right|ภาพหน้าปกสูจิบัตรโฆษณา ฉบับเดือนเมษายน ปลายทศวรรษ 2510 ของศาลาเฉลิมไทย]]
 
'''ศาลาเฉลิมไทย''' เป็นโรงมหรสพ โรงภาพยนตร์ ตั้งอยู่ที่มุม [[ถนนราชดำเนินกลาง]] กับ [[ถนนมหาไชย]] ได้รับการสร้างขึ้นตามความประสงค์ของจอมพลแปลก พิบูลสงคราม ศาลาเฉลิมไทยได้สร้างขึ้นราวปี พ.ศ. 2483 แต่ก็ได้หยุดไปช่วงหนึ่งเนื่องจาก[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] และได้เปิดอย่างเป็นทางการครั้งแรกเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492
 
อาคารก่อสร้างขึ้นด้วยรูปทรงโมเดิร์นตามแบบตะวันตกไม่มีหลังคา คล้ายคลังกับ[[ศาลาเฉลิมกรุง]] อาคารได้รับการออกแบบโดยจิตรเสน อภัยวงศ์ ที่จบการศึกษาด้าน[[สถาปัตยกรรม]]จาก[[ประเทศฝรั่งเศส]] และตกแต่งภายในโดยศิววงศ์ กุญชร ณ อยุธยา
เจ้าของตำนาน " '''ผู้บุกเบิกวงการบันเทิงไทยหลายแขนง''' "
 
ศาลาเฉลิมไทยเมื่อเปิดใหม่ ได้กลายเป็นหนึ่งในโรงมโหรสพร์ที่ทันสมัยที่สุดแห่งหนึ่งในขณะนั้น ด้วยที่นั่งราว 1,200 ที่นั่ง พร้อมที่นั่งชั้นบน เวทีเป็นแบบมีกรอบหน้า มีเวทีแบบเลื่อนบนราง (Wagon Stage) เพื่อความรวดเร็วในการเปลี่ยนฉาก ก่อนจะเปลี่ยนไปเป็นโรงภาพยนตร์ในปี พ.ศ. 2496<ref>[http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=lillustration&month=31-10-2010&group=5&gblog=2 ศาลาเฉลิมไทย : วัฒนธรรมใหม่ที่ไม่อาจบดบังพลังเก่า], BlogGang.com .สืบค้นเมื่อ 14/12/2559</ref>
 
เนื่องจากศาลาเฉลิมไทยตั้งอยู่ด้านหน้า[[วัดราชนัดดารามวรวิหาร]] และ [[โลหะปราสาท วัดราชนัดดารามวรวิหาร|โลหะปราสาท]] ทำให้เกิดการบดบังทัศนียภาพเบื้องหลัง จนในที่สุดเมื่อวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2532 คณะรัฐมนตรีรัฐบาลพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ มีมติให้รื้อศาลาเฉลิมไทย แม้จะมีเสียงคัดค้านจากหลายฝ่ายก็ตาม โดยศาลาเฉลิมไทยได้ฉายเรื่อง "''เพราะฉันรักเธอ''" เป็นภาพยนตร์เรื่องสุดท้าย<ref name="info2"></ref>
 
== ประวัติ ==
เส้น 29 ⟶ 62:
 
==วันมหาวิปโยค 14 ตุลา==
 
มีบทบาทสำคัญในช่วงเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ [[14 ตุลาคม]] พ.ศ. 2516 เป็นทั้งที่หลบภัยและโรงพยาบาลของคนเจ็บจากการต่อสู้เรียกร้องประชาธิปไตย <ref>ตำนานโรงหนัง หน้า 61</ref>
 
== อ้างอิง ==
 
[[ไฟล์:ป้ายศาลาเฉลิมไทย.jpg|thumb|left|ภาพป้ายศาลาเฉลิมไทย กองทิ้งอยู่ในร้านขายของเก่าย่านจอมทอง กรุงเทพฯ]]
{{ภาพถ่ายทางอากาศ|url=http://www.wikimapia.org/#y=13755585&x=100504619&z=18&l=0&m=a}}
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}