ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศตุรกี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 248:
ในปี พ.ศ. 2550 ตุรกีมีประชากร 70.5 ล้านคน และมีอัตราการเติบโตร้อยละ 1.04 ต่อปี ความหนาแน่นของประชากรเฉลี่ย 92 คนตารางกิโลเมตร ความหนาแน่นของประชากรในแต่ละจังหวัดแตกต่างกันตั้งแต่ 11 คนต่อตารางกิโลเมตร (ในตุนเจลี) จนถึง 2,420 คนต่อตารางกิโลเมตร (ในอิสตันบูล) ค่า[[มัธยฐาน]]ของอายุประชากรคือ 28.3 <ref>{{cite web| url=http://www.turkstat.gov.tr/PreHaberBultenleri.do?id=3894|publisher=Turkish Statistical Institute|title=2007 Census,population statistics in 2007 |accessdate=2008-08-15|date=2008}}</ref> จากข้อมูลของทางการในปี พ.ศ. 2548 อายุคาดหมายเฉลี่ยของประชากรทั้งหมดคือ 71.3 ปี<ref>{{cite news|url=http://arama.hurriyet.com.tr/arsivnews.aspx?id=5546229 |title=Life expectancy has increased in 2005 in Turkey| work=Hürriyet|accessdate=2006-12-09|date=2006-12-03}}</ref>
 
ประชากรส่วนใหญ่ของตุรกีมีชื่อเชื้อ

สายเตอร์กิช ซึ่งมีอยู่ประมาณ 50 ถึง 55 ล้านคน<ref name="Milliyet">{{cite news|title = Türkiyedeki Kürtlerin Sayısı! (Number of Kurds in Turkey!)|publisher=Milliyet|date=2008-06-06|accessdate=2008-08-18|language=Turkish|url=http://www.milliyet.com.tr/default.aspx?aType=SonDakika&Kategori=yasam&ArticleID=873452&Date=07.06.2008&ver=16
}}</ref> ชนชาติอื่น ๆ ที่สำคัญได้แก่ชาวเคิร์ด, เซอร์ซาสเซียน, ซาซา บอสเนีย, จอร์เจีย, อัลเบเนีย, โรมา (ยิปซี), อาหรับ และอีก 3 ชนชาติที่ได้รับการยอมรับจากทางการได้แก่พวกกรีก, อาร์มีเนีย และยิว ในบรรดาชนชาติเหล่านี้ กลุ่มที่ใหญ่ที่สุดคือ[[ชาวเคิร์ด]] (ประมาณ 12.5 ล้านคน<ref name="Milliyet" />) ซึ่งมักจะอาศัยอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศ
 
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ชาวตุรกีจำนวนมากอพยพไปยัง[[ยุโรปตะวันตก]] (โดยเฉพาะ[[เยอรมนีตะวันตก]]) เนื่องจากความต้องการแรงงานในยุโรปเพิ่มขึ้น ทำให้เกิดชุมชนชาวตุรกีนอกประเทศขึ้น แต่ในระยะหลังตุรกีกลับกลายเป็นจุดหมายของผู้อพยพจากประเทศข้างเคียง ซึ่งมีทั้งผู้อพยพที่ปักหลักอยู่ในประเทศตุรกี และผู้ที่ใช้ตุรกีเป็นทางผ่านต่อไปยังประเทศกลุ่มยุโรป<ref>{{cite web|url=http://www.migrationinformation.org/Feature/display.cfm?id=176 |title=Turkey: A Transformation from Emigration to Immigration|first=Kemal|last=Kirişçi|publisher=Center for European Studies, Bogaziçi University|accessdate=2006-12-26|date=November 2003}}</ref> <ref>{{cite web|url=http://www.migrationinformation.org/Feature/display.cfm?id=176 |title=http://www.economist.com/world/international/displaystory.cfm?story_id=11921822|publisher=The Economist|accessdate=2008-9-3|date=November 2008}}</ref>