ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วงกลมอาร์กติก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
A.patcharoen (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
DMS WIKI (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Arctic circle.svg|thumb|แผนที่ของอาร์กติก แสดงให้เห็นวงกลมอาร์กติก (เส้นประสีน้ำเงิน) เส้นสีแดงคือเส้นที่แสดงให้เห็นว่าบริเวณภายในเส้นนั้นมีอุณหภูมิมีค่าเท่ากัน]]
'''วงกลมอาร์กติก''' ({{lang-en|Arctic Circle}}) คือวงกลมละติจูดที่อยู่เหนือที่สุด ในบรรดา 5 วงกลมละติจูดหลักบนแผนที่โลก พื้นในในบริเวณนี้เรียกว่า[[อาร์กติก]] ด้านเหนือสุดของวงกลม มีปรากฏการปรากฏการณ์ที่[[ดวงอาทิตย์]]จะอยู่เหนือของฟ้าตลอดเวลาต่อเนื่องกัน 24 ชั่วโมง อย่างน้อย ปีละ หนึ่งครั้ง ทำให้สามารถมองเห็นดวงอาทิตย์ได้แม้ในเวลากลางคืน และมีปรากฏการณ์ที่ดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้าตลอดเวลาต่อเนื่องกัน 24 ชั่วโมง อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ทำให้ไม่สามารถเห็นด้วงดวงอาทิตย์ได้แม้ในเวลากลางวัน ปรากฏการณ์เกิดขึ้นที่ขั้วโลกใต้เช่นกัน
 
ตำแหน่งของวงกลมอาร์กติก ไม่ใช่ตำแหน่งที่คงที่ จนถึงวันที่ {{TODAY}} ตำแหน่งอยู่ที่ {{circle of latitude|polar}} เหนือเส้นศูนย์สูตร <ref>{{cite web|url=http://www.neoprogrammics.com/obliquity_of_the_ecliptic/ |title=Obliquity of the Ecliptic (Eps Mean) |publisher=Neoprogrammics.com |date= |accessdate=2014-05-13}}</ref> ตำแหน่งนี้ขึ้นอยู่กับการเอียงของแกนโลก ซึ่งมีค่าไม่คงที่ ผันแปรประมาณ 2 องศา ตลอด 40,000 ปีที่ผ่านมานี้ เป็นผลมาจากแรงกระทำจากการโคจรรอบโลกของดวงจันทร์ ทำให้ตำแหน่งของวงกลมอาร์กติกไม่คงที่ ผลที่ตามมาคือ ตำแหน่งของวงกลมอาร์กติกขณะนี้ขยับขึ้นไปทางเหนือ ปีละ 15 เมตร
{{พิกัดทางภูมิศาสตร์}}
[[หมวดหมู่:เส้นละติจูด]]