ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลิลิตโองการแช่งน้ำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nsdarkstar (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
 
{{issues|จัดรูปแบบ=yes|ต้องการอ้างอิง=yes}}
 
{{ตารางวรรณคดี
| กวี = พราหมณ์ ในสมัยพระเจ้าอู่ทอง{{อ้างอิง}}
เส้น 13 ⟶ 11:
| ลิขสิทธิ์ = -
}}
 
{{วิกิซอร์ซ|ลิลิตโองการแช่งน้ำ}}
 
'''ลิลิตโองการแช่งน้ำ''' หรือ '''ประกาศแช่งน้ำโคลงห้า'''<ref>กรมศิลปากร. (2540). ''วรรณกรรมสมัยอยุธยา เล่ม 1.'' กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. ISBN 9744190825. หน้า (1)-(13).</ref> เป็น[[วรรณคดี]]เก่าแก่มากที่สุดเรื่องหนึ่งของไทย มีความสำคัญทั้งด้านวรรณคดี[[ นิรุกติศาสตร์]] [[ประวัติศาสตร์]] และสังคมของไทย เป็นวรรณคดีที่มีความยาวเพียงไม่กี่หน้า แต่ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์มากที่สุดเรื่องหนึ่ง{{โปรดเรียบเรียงใหม่}}{{อ้างอิง}} เป็น[[โองการ]]สำหรับใช้อ่านเมื่อมีพิธีถือน้ำกระทำสัตย์สาบานต่อพระมหากษัตริย์{{อ้างอิง}}
 
== ประวัติ ==
เส้น 24 ⟶ 21:
โองการแช่งน้ำเป็นวรรณคดีที่ใช้คำเก่า แต่เป็นคำไทยแม้เป็นส่วนมาก ทำให้อ่านเข้าใจยาก ทำให้นักวิจารณ์สับสน ซึ่งแตกต่างจากวรรณคดีที่ใช้ภาษาบาลีหรือสันสกฤต ที่สามารถสืบหาความหมายได้ง่ายกว่า เช่น ลิลิตยวนพ่าย ซึ่งใช้คำศัพท์บาลีสันสกฤตปะปนอยู่ตลอดทั้งเรื่อง
 
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเคยมีพระราชดำริ ว่า "โองการแช่งน้ำนี้เรียกว่า โคลง เขียนเป็นหนังสือพราหมณ์ แต่เมื่อตรวจดูจะกำหนดเค่าว่าเป็นโคลงอย่างไรก็ไม่ได้สนัด ได้เค้า ๆ บ้างแล้วก็เลือนไป แต่เนื้อความนั้นเป็นภาษาไทย ถอยคำที่ใช้ลึกซึ้งที่ไม่เข้าใจบ้างก็มี..." ("พระราชพิธีศรีสัจจปานกาล", ''พระราชพิธีสิบสองเดือน'')
 
คำศัพท์ในโองการแช่งน้ำมีการผสมผสาน เริ่มตั้งแต่คำศัพท์บาลีและสันสกฤต โดยเฉพาะในช่วงต้นที่เป็นการบูชาเทพเจ้าทั้งสาม เช่น โอม สิทธิ มฤตยู จันทร์ ธรณี เป็นต้น
เส้น 35 ⟶ 32:
 
== ลักษณะคำประพันธ์ ==
เชื่อกันว่าโองการแช่งน้ำฉบับนี้ แต่งขึ้นด้วย [[โคลงห้า]] ที่นิยมใช้กันใน[[อาณาจักรล้านช้าง]]ในยุคเดียวกันนั้น{{อ้างอิง}} กล่าวคือ บาทหนึ่ง มี 5 คำ เป็นวรรคหน้า 3 คำ วรรคหลัง 2 คำ หนึ่งบทมี 4 บาท นิยมใช้เอกโท (เอกสี่ โทสาม) แต่สามารถเพิ่มสร้อยหน้า และสร้อยหลังบาทได้ ทั้งนี้ยังมีร่ายสลับ จึงนิยมเรียกว่า [[ลิลิต]] แม้จะไม่สอดคล้องกับธรรมเนียมการแต่งลิลิตทั่วไป ที่มักจะแต่งร่ายสุภาพร้อยกับโคลงสุภาพ หรือร่ายดั้นร้อยกับโคลงดั้น ก็ตาม
 
ตามหลักแล้ว ลิลิต หมายถึง หนังสือที่แต่งด้วยคำประพันธ์ประเภท โคลง และร่าย สลับกันเป็นช่วงๆ ตามธรรมเนียมแล้ว มักจะใช้โคลงและร่ายในแบบเดียวกัน กล่าวคือ โคลงดั้น สลับกับร่ายดั้น, โคลงสุภาพ สลับกับร่ายสุภาพ อย่างนี้เป็นต้น โคลงและร่ายที่สลับกันนั้น มักจะร้อยสัมผัสด้วยกัน เรียกว่า '''เข้าลิลิต'''
เส้น 52 ⟶ 49:
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
 
== แหล่งข้อมูลอื่น==
 
* จิตร ภูมิศักดิ์. '''โองการแช่งน้ำ และข้อคิดใหม่ในประวัติศาสตร์ไทยลุ่มน้ำเจ้าพระยา'''. ดวงกมล : กรุงเทพฯ, 2524.
* จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. '''พระราชพิธีสิบสองเดือน'''. โรงพิมพ์พระจันทร์ : พระนคร, 2496.