ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รถด่วนพิเศษนครพิงค์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{Infobox j-rail service
|name= ขบวนรถด่วนพิเศษนครพิงค์
เส้น 12 ⟶ 11:
|stock= 2 ขบวน
}}
'''รถด่วนพิเศษนครพิงค์''' ({{ภาษาอังกฤษ|Nakhon Phing Express Train}}; หมายเลขขบวน; 1/2) เป็นรถด่วนพิเศษในอดีตขบวนหนึ่งของ[[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] มีชื่ออย่างเป็นทางการคือให้บริการระหว่าง[[สถานีรถไฟกรุงเทพ]] "ขบวนรถด่วนพิเศษขบวนที่ 1[[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]] -และ[[สถานีรถไฟเชียงใหม่]] [[อำเภอเมืองเชียงใหม่|อำเภอเมือง]]" และ "ขบวนรถด่วนพิเศษขบวนที่ 2 [[จังหวัดเชียงใหม่-กรุงเทพ"]] ให้บริการด้วยรถปรับอากาศนั่งและนอนปรับอากาศชั้นที่หนึ่งและชั้นสอง 1(บนอ.ป. และชั้นที่ 2,บนท.ป.) รถนั่งปรับอากาศชั้นที่ 2,เจอาร์เวสสำหรับผู้พิการ และรถเสบียงปรับอากาศ และรถสัมภาระ(บกข.ป) ถือเป็นขบวนรถตัวอย่างของปัจจุบันยุติการให้บริการและทดแทนด้วย[[ทางรถไฟสายเหนือ|รถไฟสายเหนือรถด่วนพิเศษอุตราวิถี]]ขบวนที่ 9/10
 
== ประวัติ ==
รถด่วนพิเศษนครพิงค์ ในอดีตคือรถด่วนนครพิงค์ เป็นรถโดยสารปรับอากาศล้วน เปิดเดินรถครั้งแรกในวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2530 และเป็นขบวนรถด่วนที่วิ่งคู่กับรถด่วนขบวนที่ 13/14 ซึ่งเปิดทำการมาตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2465 โดยใช้รถนั่งและนอนปรับอากาศชั้นที่ 1 รุ่นฮุนได 24 ที่นั่งและนอน ที่นำเข้าจากประเทศเกาหลีใต้ เมือปี พ.ศ. 2539 และรถนั่งและนอนปรับอากาศชั้นที่ 2 รุ่นแดวู 40 ที่นั่งและนอน ที่นำเข้าจากประเทศเกาหลีใต้ เมือปี พ.ศ. 2539 เช่นเดียวกับรถนั่งและนอนปรับอากาศชั้นที่ 1 และมีรถนั่งปรับอากาศชั้นที่ 2 ที่รองรับผู้โดยสารที่เป็นคนพิการ มีสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อผู้พิการ รวมทั้งห้องน้ำกว้างกว่ารถโดยสารปกติ โดยดัดแปลงมาจากรถนั่งปรับอากาศชั้น 3 เดิมจาก JR-west ประเทศญี่ปุ่น และมีตู้สำหรับสุภาพสตรีและเด็กอยู่ที่คันที่ 11 ในเที่ยวไป และคันที่ 3 ในเที่ยวกลับ
 
ตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2545]] รถด่วนพิเศษนครพิงค์ได้กลายมาเป็นขบวนรถตัวอย่างขบวนหนึ่งของการรถไฟฯ ควบคู่กับ[[รถด่วนพิเศษระหว่างประเทศ]], [[รถด่วนพิเศษทักษิณ]] และรถด่วนพิเศษดีเซลรางขบวนที่ 21/22 กรุงเทพ - [[สถานีรถไฟอุบลราชธานี|อุบลราชธานี]] - กรุงเทพ
 
รถด่วนพิเศษนครพิงค์ยกเลิกการเดินรถตั้งแต่คืนวันที่ 11 พฤศจิกายน (สำหรับขบวนที่ 1) และคืนวันที่ 12 พฤศจิกายน (สำหรับขบวนที่ 2) พ.ศ. 2559<ref name="Ceased operation"/> และทดแทนด้วยการเดิน[[รถด่วนพิเศษอุตราวิถี]] ขบวนที่ 9/10 โดยใช้รถไฟชุด 115 คันจาก [[ประเทศจีน]]ชุดละ 13 คัน โดยใช้ชุดเวลาเดิมกับด่วนพิเศษนครพิงค์ นับเป็นการปิดฉากขบวนรถด่วนพิเศษยอดนิยมมาทุกยุคทุกสมัยขวัญใจชาวต่างประเทศ ซึ่งรับใช้คนไทยและต่างประเทศมานานเกือบ 30 ปี
 
== สถานีรถไฟที่จอด ==