ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความโน้มถ่วง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Benzzneb1996 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่
Thaninwit Piumsomboon (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Solar sys.jpg|thumb|200px|ความโน้มถ่วงทำให้[[ดาวเคราะห์]]ต่างๆ ยังคง[[การหมุน|หมุน]]รอบ[[ดวงอาทิตย์]] ไม่หลุดออกจากวงโคจร (ภาพไม่เป็นไปตามอัตราส่วน)]]
'''ความโน้มถ่วง''' ({{lang-en|gravity}}) เป็นปรากฏการณ์ของธรรมชาติซึ่งที่โลกได้ทำให้วัตถุหรือกายภาพทั้งหมดถูกดึงดูดเข้าหากัน ความโน้มถ่วงทำให้วัตถุหรือกายภาพนั้นมีน้ำหนักและทำให้วัตถุตกสู่ลงพื้นเมื่อปล่อยลง แรงโน้มถ่วงนั้นจะทำให้วัตถุต่างต่างๆติดอยู่กับพื้น ไม่อย่างนั้นวัตถุหรือสิ่งของต่างๆก็ลอยขึ้นฟ้าแม้กระทั่งชั้นบรรยากาศ แรงโน้มถ่วงเป็นหนึ่งในสี่แรงหลัก ซึ่งประกอบด้วย '''แรงโน้มถ่วง''' [[แรงแม่เหล็กไฟฟ้า]] [[แรงนิวเคลียร์แบบอ่อน]] และ [[แรงนิวเคลียร์แบบเข้ม]] ในจำนวนแรงทั้งสี่แรงหลัก แรงโน้มถ่วงมีค่าน้อยที่สุด ถึงแม้ว่าแรงโน้มถ่วงจะเป็นแรงที่เราไม่สามารถรับรู้ได้มากนักเพราะความเบาบางของแรงที่กระทำต่อเรา แต่ก็เป็นแรงเดียวที่ยึดเหนี่ยวเราไว้กับพื้นโลก แรงโน้มถ่วงมีความแรงแปรผันตรงกับมวล และแปรผกผันกับระยะทางยกกำลังสอง ไม่มีการลดทอนหรือถูกดูดซับเนื่องจากมวลใดๆ ทำให้แรงโน้มถ่วงเป็นแรงที่สำคัญมากในการยึดเหนี่ยว[[เอกภพ]]ไว้ด้วยกัน
 
นิวตันได้ค้นพบปรากฎการณ์ธรรมชาติของแรงดึงดูดโน้มถ่วงระหว่างวัตถุใดๆ สองวัตถุ นิวตันได้ทำการตีพิมพ์กฏความโน้มถ่วงขึ้นพร้อมกับกฏการเคลื่อนที่ 3ข้อของเขา ในปี พ.ศ. 2230 เราอาจบอกกฏนี้ได้ดังนี้
นอกเหนือจากความโน้มถ่วงที่เกิดระหว่างมวลแล้ว ความโน้มถ่วงยังสามารถเกิดขึ้นได้จากการที่เราเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ตาม[[กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน]] เช่น การเพิ่มหรือลดความเร็วของวัตถุ การเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ เป็นต้น
 
"ทุกอนุภาคสสารนี้เอกภพดึงดูดทุกอนุภาคอื่นด้วยแรงซึ่งแปรผันตรงกับผลคูณของมวลของอนุภาคและแปรผกผันกับกำลังสองของระยะห่างระหว่างอนุภาคทั้งสองนั้น"
 
นอกเหนือจากความโน้มถ่วงที่เกิดระหว่างมวลชองวัตถุแล้ว ความโน้มถ่วงยังสามารถเกิดขึ้นได้จากการที่เราเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ตาม[[กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน]] เช่น การเพิ่มหรือลดความเร็วของวัตถุ การเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ เป็นต้น
 
== ประวัติศาสตร์ ==