ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พิชัย รัตตกุล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Poompong1986 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 51:
ได้เป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ในปี [[พ.ศ. 2525]] หลังจากการครบวาระของ พันเอก (พิเศษ) ดร.[[ถนัด คอมันตร์]] ซึ่งพรรคประชาธิปัตย์ในช่วงนี้ได้ร่วมเป็นพรรคร่วมรัฐบาลที่ให้การสนับสนุนการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของ พลเอก[[เปรม ติณสูลานนท์]] ซึ่งนายพิชัยได้เป็นรองนายกรัฐมนตรีด้วย ในปี [[พ.ศ. 2529]] จากนั้นในรัฐบาล พลเอก[[ชาติชาย ชุณหะวัณ]] นายพิชัยและพรรคประชาธิปัตย์ได้เป็นพรรคร่วมรัฐบาลในวาระแรก แต่ในวาระที่ 2 ของการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี นายพิชัยและพรรคประชาธิปัตย์ได้ถอนตัวจากการร่วมรัฐบาลเนื่องจากมีเสียงสนับสนุนรัฐบาลในสภา ฯ เป็นจำนวนมาก เนื่องจากไม่ต้องการให้เกิดสภาพการเป็นเผด็จการรัฐสภา
 
ในวาระของการเป็นหัวหน้าพรรคของนายพิชัยนั้น ได้มีเหตุการณ์ความแตกแยกในพรรคเกิดขึ้น เมื่อกลุ่ม "[[กลุ่ม 10 มกรา]]" ที่นำโดยนาย[[วีระ มุสิกพงศ์]] ได้ลาออกจากพรรคไป เนื่องจากความขัดแย้งกันในแต่งตั้งหัวหน้าพรรค
 
จากนั้น เมื่อ นาย[[ชวน หลีกภัย]]เป็นหัวหน้าพรรคและเป็นนายกรัฐมนตรีในสมัยที่ 2 นายพิชัยได้ดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่ดูแลรับผิดชอบกิจการเกี่ยวกับต่างประเทศและรับผิดชอบการจัดมหกรรมกีฬา[[เอเชียนเกมส์ 1998]] และได้ดำรงตำแหน่งประธานรัฐสภาด้วย<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2543/E/065/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายพิชัย รัตตกุล)]</ref> หลังจากนี้ไม่นาน นายพิชัยได้วางมือจากการเมืองเนื่องจากมีอายุที่มากแล้ว จนได้รับฉายาว่า "คุณปู่" แต่ยังมีตำแหน่งเป็นสภาที่ปรึกษาของพรรคประชาธิปัตย์อยู่