ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดพิชยญาติการามวรวิหาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการเพิ่มอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Watpichayart.jpg|thumb|พระปรางค์วัดพิชยญาติการามวรวิหาร]]
[[ไฟล์:S5000088re.jpg|200px|thumb|ภายในพระอุโบสถ วัดพิชัยญาติการามวรวิหาร]]
[[ไฟล์:WatPhichaiyartPutthaBat030624.jpg|200px|thumb|upright|รอยพระบาท 4 พระองค์]]
'''วัดพิชยญาติการามวรวิหาร''' หรือ '''วัดพิชัยญาติ''' เป็น[[พระอารามหลวง]]ชั้นโท ชนิด'''วรวิหาร'''<ref>[[ราชกิจจานุเบกษา]], [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2458/A/284.PDF ประกาศกระทรวงธรรมการ แผนกกรมสังฆการี เรื่อง จัดระเบียบพระอารามหลวง], เล่ม ๓๒, ตอน ๐ ก, ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๘, หน้า ๒๙๑</ref> สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่เชิง[[สะพานพุทธ]] บริเวณที่เดิมเรียกว่าวงเวียนเล็ก ใน[[แขวงสมเด็จเจ้าพระยา]] [[เขตคลองสาน]] เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดวรวิหาร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ริมคลองบ้านสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสาน เดิมเป็นวัดร้าง แต่[[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ (ทัต บุนนาค)]] ครั้งมีบรรดาศักดิ์เป็นพระยาศรีพิพัฒน์ราชโกษา ได้ปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ประมาณ พ.ศ. 2372 - 2375 ในรัชกาลที่ 3 เนื่องจากสมเด็จเจ้าพระยาองค์น้อยขณะนั้นเป็นจางวางพระคลังสินค้า มีเรือสำเภาค้าขายกับจีน จึงได้นำอับเฉาเรือ กระเบื้องสี และหินมาจากจีน สถาปัตยกรรมวัดนี้มีลักษณะแบบไทยผสมจีน ซึ่งเป็นแบบพระราชนิยมในสมัยนั้น เมื่อบูรณะวัดเสร็จแล้ว ได้น้อมเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 พระราชทานนามว่า "วัดพระยาญาติการาม" ในสมัยรัชกาลที่ 4 ต่อมา[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เปลี่ยนชื่อวัดใหม่เป็น "วัดพิชยญาติการาม" หรือที่คนทั่วไปเรียกกันว่า "วัดพิชัยญาติ"
 
'''วัดพิชยญาติการามวรวิหาร''' หรือ '''วัดพิชัยญาติ''' ตั้งอยู่เชิง[[สะพานพุทธ]] บริเวณที่เดิมเรียกว่าวงเวียนเล็ก ใน[[แขวงสมเด็จเจ้าพระยา]] [[เขตคลองสาน]] เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดวรวิหาร สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่ริมคลองบ้านสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสาน เดิมเป็นวัดร้าง แต่[[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ (ทัต บุนนาค)]] ครั้งมีบรรดาศักดิ์เป็นพระยาศรีพิพัฒน์ราชโกษา ได้ปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ประมาณ พ.ศ. 2372 - 2375 ในรัชกาลที่ 3 เนื่องจากสมเด็จเจ้าพระยาองค์น้อยขณะนั้นเป็นจางวางพระคลังสินค้า มีเรือสำเภาค้าขายกับจีน จึงได้นำอับเฉาเรือ กระเบื้องสี และหินมาจากจีน สถาปัตยกรรมวัดนี้มีลักษณะแบบไทยผสมจีน ซึ่งเป็นแบบพระราชนิยมในสมัยนั้น เมื่อบูรณะวัดเสร็จแล้ว ได้น้อมเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 พระราชทานนามว่า "วัดพระยาญาติการาม" ในสมัยรัชกาลที่ 4 [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เปลี่ยนชื่อวัดใหม่เป็น "วัดพิชยญาติการาม" หรือที่คนทั่วไปเรียกกันว่า "วัดพิชัยญาติ"
 
== ปูชนียวัตถุและถาวรวัตถุที่สำคัญของวัด ==
พระอุโบสถ สร้างเป็นศิลปะแบบจีน ไม่มีช่อฟ้า ใบระกา เนื่องจากสมัยก่อนเป็นวัดอยู่ในสวน จึงสร้างเพื่อหลบบรรดากิ่งไม้ ผลไม้ที่จะหล่นหรือหักไปกระทบหลังคาพระอุโบสถได้ องค์พระประธานในอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปปั้น ปางมารวิชัย เป็นพระพุทธรูปโบราณรุ่นเดียวกับพระพุทธชินราชชินศรี โดยอัญเชิญมาจากวัดพระวิหาร หลวงเมืองพิษณุโลก นามว่า "พระสิทธารถ" หรือที่ชาวบ้านทั่วไปจะเรียกท่านว่า "หลวงพ่อสมปรารถนา" ซึ่งเป็นที่เคารพสักการะของพุทธศาสนิกชนจำนวนมาก
 
พระพุทธรูปประดิษฐานหน้าองค์พระประธาน เป็นพระพุทธรูป ปางมารวิชัย โดย[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต|สมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอเจ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต]] ทรงหล่อเมื่อ พ.ศ. 2465 นามว่า พระวรวินายก
พระอุโบสถ สร้างเป็นศิลปะแบบจีน ไม่มีช่อฟ้า ใบระกา เนื่องจากสมัยก่อนเป็นวัดอยู่ในสวน จึงสร้างเพื่อหลบบรรดากิ่งไม้ ผลไม้ที่จะหล่นหรือหักไปกระทบหลังคาพระอุโบสถได้
องค์พระประธานในอุโบสถ เป็นพระพุทธรูปปั้น ปางมารวิชัย เป็นพระพุทธรูปโบราณรุ่นเดียวกับพระพุทธชินราชชินศรี โดยอัญเชิญมาจากวัดพระวิหาร หลวงเมืองพิษณุโลก นามว่า "พระสิทธารถ" หรือที่ชาวบ้านทั่วไปจะเรียกท่านว่า "หลวงพ่อสมปรารถนา" ซึ่งเป็นที่เคารพสักการะของพุทธศาสนิกชนจำนวนมาก
พระพุทธรูปประดิษฐานหน้าองค์พระประธาน เป็นพระพุทธรูป ปางมารวิชัย โดย[[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต|สมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอเจ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต]] ทรงหล่อเมื่อ พ.ศ. 2465 นามว่า พระวรวินายก
พระปรางค์องค์ใหญ่ วัดโดยรอบ 33 วา 2 ศอก ส่วนสูงตลอดยอดนภศูล 21 วา 1 ศอก 10 นิ้ว เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปปั้น 4 องค์ หันพระพักตร์ไปสู่สี่ทิศ
มีพระปรางค์องค์เล็ก 2 องค์ ขนาดวัดโดยรอบ 15 วา ส่วนสูงตลอดนภศูล 11 วา 1 ศอก 1 คืบ 2 กระเบียด ทิศตะวันออกเป็นที่ ประดิษฐานพระโพธิสัตว์พระศรีอาริย์ องค์ทิศตะวันตกเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธบาทจำลอง 4 รอย จำหลักด้วยแผ่นศิลา สัณนิฐานกันว่าเป็นของเก่า แต่ไม่ทราบว่านำมาจากที่ไหน
 
[[พระปรางค์]]องค์ใหญ่ วัดโดยรอบ 33 วา 2 ศอก ส่วนสูงตลอดยอดนภศูล 21 วา 1 ศอก 10 นิ้ว เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปปั้น 4 องค์ หันพระพักตร์ไปสู่สี่ทิศ มีพระปรางค์องค์เล็ก 2 องค์ ขนาดวัดโดยรอบ 15 วา ส่วนสูงตลอดนภศูล 11 วา 1 ศอก 1 คืบ 2 กระเบียด ทิศตะวันออกเป็นที่ ประดิษฐานพระโพธิสัตว์พระศรีอาริย์ องค์ทิศตะวันตกเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธบาทจำลอง 4 รอย จำหลักด้วยแผ่นศิลา สัณนิฐานกันว่าเป็นของเก่า แต่ไม่ทราบว่านำมาจากที่ไหน
นอกจากนี้แล้วยังเป็นที่รู้จักกันดีว่า [[ทศพร เทวาพิทักษ์ธรรม|แม่ชีทศพร]] (หรือธนพร) อาศัยอยูที่วัดนี้
 
นอกจากนี้แล้วยังเป็นที่รู้จักกันดีว่า แม่ชี[[ทศพร เทวาพิทักษ์ธรรม|แม่ชีทศพร]] (หรือธนพร) อาศัยอยูที่วัดนี้
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
 
== ลำดับเจ้าอาวาส ==
# พระปรากรมมุนี
# พระเมธาธรรมรส (ถิ่น)
# พระเมธาธรรมรส (เอี่ยม ป.ธ.7)
# พระพุทธิวิริยาภรณ์ (น้อย)
# พระวิเชียรกระวี (เอี่ยม ป.ธ.4 )
# พระอริยกระวี (พลับ ป.ธ.4)
# [[พระสาสนโสภณ (อ่อน อหึสโก)]] ป.ธ. 7
# พระราชเมธี (ท้วม ป.ธ.5)
# พระเขมาภิมุขธรรม (อิ่ม)
# พระเมธาธรรมรส (เสาร์ โสรโย ป.ธ.5)
# คณะกรรมการปกครอง
# พระญาณกิตติ (สมศักดิ์ สิริวณฺโณ ป.ธ.5)
# [[พระมหาโพธิวงศาจารย์ (สาลี อินฺทโชโต)]]
# [[พระวิสุทธิวงศาจารย์ (สุง ธญฺญาโภ)]] ป.ธ.6
# พระราชธรรมสุนทร (ฉ่อง ถาวโร) ป.ธ. 8
# [[สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สมศักดิ์ อุปสโม)]] ป.ธ.9
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{geolinks-bldg|13.732647|100.497303}}
 
[[หมวดหมู่:พระอารามหลวงชั้นโท ชนิดวรวิหาร{{เรียงลำดับ|พิชยญาติการามวรวิหาร]]}}
[[หมวดหมู่:วัดในเขตคลองสาน|พิชยญาติการามวรวิหาร]]
[[หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยา|พิชยญาติการามวรวิหาร]]
{{สร้างปี|2375}}
[[หมวดหมู่:พระอารามหลวงชั้นโท ชนิดวรวิหาร]]
 
[[หมวดหมู่:วัดไทยในสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย]]
[[หมวดหมู่:วัดในเขตคลองสาน|พิชยญาติการามวรวิหาร]]
[[หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยา|พิชยญาติการามวรวิหาร]]
{{โครงวัดไทย}}