ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กวนอิม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนการแก้ไขที่ 6575919 สร้างโดย 27.145.28.14 (พูดคุย)
บรรทัด 7:
| sanskrit_name = [[พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์|अवलोकितेश्वर]] <br /> (Avalokiteśvara, อวโลกิเตศวร)
| pali_name =
| burmese_name = လောကနတ် (lɔ́ka̰ naʔ) <br>လောကနာထ (lɔ́ka̰nətʰa̰) <br />ကွမ်ရင် (kwàɴ jɪ̀ɴ)
| chinese_name = 觀世音 (Guānshìyīn) <br>觀音 (Guānyīn) <br>觀自在 (Guānzìzài)
| bengali_name =
เส้น 12 ⟶ 13:
| tibetan_name = སྤྱན་རས་གཟིགས་<br>spyan ras gzigs; chenrezig
| mongolian_name = Жанрайсиг, Нүдээр Үзэгч<br>'''ᠨᠢᠳᠦ ᠪᠡᠷ ᠦᠵᠡᠭᠴᠢ'''
| korean_name = 관세음보살 (gwanseeum bosal) <br />관세음 (Gwan-se-eum) <br>관음 (Gwan-eum)
| thai_name = พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร<br>พระแม่กวนอิม
| vietnamese_name = Quán Thế Âm, Quan Âm
เส้น 50 ⟶ 52:
 
=== ในไซอิ๋ว ===
[[ชาวจีน]]เชื่อว่า [[พระโพธิสัตว์]]กวนอิมยังมีบทบาทใน[[วรรณกรรม]]เรื่อง [[ไซอิ๋ว]] โดยเริ่มแรกทีเดียว[[เห้งเจีย|ซุนหงอคง]]ไม่เชื่อฟังพระถังซำจั๋ง พระแม่กวนอิมจึงประทานเชือกประหลาดและมาบอก[[พระถังซำจั๋ง]]ว่า จงรับรัดเกล้านี้ไป ถ้าหากสวมไปแล้ว แล้วพูดว่า '''รัดเกล้า''' รอบเดียว ก็จะปวดหัวเหมือนมีสิ่งใดมัด[[ศีรษะ|หัว]]
 
=== ตามคติมหายาน ===
ส่วนอีกความเชื่อหนึ่งคือ ท่านสถิตย์ ณ [[เกาะผู่โถวซาน]] (普陀山) และปฏิบัติธรรม ณ ที่นั่น (ปัจจุบันมี[[เทวรูป]]องค์ใหญ่เป็นพระแม่กวนอิมปางทรงธรรมจักรในพระหัตถ์ซ้าย ส่วนพระหัตถ์ขวาทำพระกิริยาห้าม มองไปที่[[ทะเล]]ใต้ เรียกว่า '''หนานไห่กวนอิม (南海观音)''')
 
นอกจากนี้ ผู้ที่นับถือ(โดยเฉพาะในไทย)มีเคล็ดลับบอกว่า ผู้ใดนับถือพระแม่กวนอิม ก็จะไม่สามารถรับประทานเนื้อสัตว์ประเภทเนื้อ[[วัว|เนื้อว้ว]]และเนื้อ[[ควาย|เนื้อควาย]] และเชื่อกันว่า ถ้าผู้ใดกัดกิน[[วัว|เนื้อว้ว]][[ควาย]]เข้าไปแม้แต่คำเดียว อาจหมายถึง[[กิน]]พระเจ้าเมี่ยวจวง{{อ้างอิง}}
 
=== พระอัครสาวก ===
[[ไฟล์:Dharma Flower Temple Avalokitasvara Bodhisattva.jpg|thumb|450px|[[เด็กแดง|พระสุธนกุมาร]] และ[[ธิดาพญามังกร]]]]
รูปเคารพพระโพธิสัตว์กวนอิมมักมี[[เด็กแดง|เด็กชาย]]และ [[ธิดาพญามังกร|เด็กหญิง]]หรือ[[สาวก|พุทธสาวก]]เบื้องซ้ายเบื้องขวาอยู่เคียงข้างเสมอ โดยถูกเรียกทับศัทพ์เป็นคำจีนว่า [[เด็กแดง|กิมท้ง]] คือเด็กชายผู้ที่ทุบศีรษะเจ้าหญิงเมี่ยวซ่านจนดวงปราณละสังหารได้นั้นเอง และ [[ธิดาพญามังกร|เง็กนึ้ง]]คือสาวใช้ผู้ปวารณาเป็นข้ารับใช้พระองค์ขณะเป็น[[ภิกษุณี]] บางตำนานว่า[[เด็กแดง|กิมท้ง]] คือ บุตรชายคนรองแห่ง[[หลี่จิ้ง|เทพถือเจดีย์]] (บิดาแห่ง[[นาจา]]) นามว่า "ซ่านไฉ่"ซึ่งถวายตัวเป็นพุทธสาวกแห่ง[[พระโพธิสัตว์]]กวนอิม และส่วนเง้กนึ้งบางตำนานกล่าวว่าคือ [[ธิดาพญามังกร|เจ้าหญิงมังกร]] นามว่า [[ธิดาพญามังกร|หลงหนี่]] หนี่ซึ่งเป็นพระธิดาแห่งเจ้าสมุทรผัวเจี๋ยหลัวปวารณาตนเป็น[[สาวก|พุทธสาวก]]ของ[[พระโพธิสัตว์]]กวนอิม แต่บางตำนานว่า ซ่านไฉ่ กับ หลงหนี่เป็น[[พระโพธิสัตว์]]โดยมีเทวตำนานดังนี้ ตอนที่เจ้าหญิงหลงหนี่อายุได้ 8 พรรษาได้มีโอกาสฟังพระธรรมเทศนาจาก[[พระมัญชุศรีโพธิสัตว์]] บังเกิดเห็นดวงตาเห็นธรรมจึงเสด็จขึ้นจากวังบาดาล ยัง[[ชมพูทวีป]]เข้าเฝ้า[[พระพุทธเจ้า]] และถวายตัวเป็น[[สาวก|พุทธสาวก]] และต่อมาไม่นานสำเร็จมรรคผลเป็น[[พระโพธิสัตว์]] ส่วนซ่านไฉ่นั้นเป็นบุตร 1 ใน 500 คนแห่งผู้เฒ่าฝูเฉิง เกิดเห็นว่าทุกสรรพสิ่งเป็นสิ่งไม่เที่ยงมาแต่ไหนแต่ไร ด้วยเหตุนี้จึงสนใจศึกษา[[พระธรรม]]โดยได้รับคำชี้แนะจาก[[พระมัญชุศรีโพธิสัตว์]] และได้รับการสั่งสอนจาก[[พระสงฆ์|พระภิกษุสงฆ์]] ถึง 53 รูป ผ่านอุปสรรคต่างๆจนบรรลุสู่การเป็น[[พระโพธิสัตว์]].
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/กวนอิม"