ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมณะโพธิรักษ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ละเมิดลิขสิทธิ์
Beermtg (คุย | ส่วนร่วม)
บทความเก่านำเสนอด้านเดียว แก้ไขเพิ่มเติมนำเสนอทั้งสองด้าน เพิ่มลิ้งอ้างอิง
บรรทัด 5:
{{ wikisource | 1 = คำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๓๖๙๙-๓๗๓๙/๒๕๔๑ | 2 = คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3699-3739/2541 (คดีสังฆเภท) }}
 
สมณะโพธิรักษ์ (มงคล รักพงษ์) เกิดที่ จ.ศรีสะเกษ เมื่อวันที่ ๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๗ บิดาเสียชีวิต ตั้งแต่ท่านยังเล็ก มารดาได้มาประกอบอาชีพที่ จ.อุบลราชธานี ซึ่งเป็นรกรากเดิมของบรรพบุรุษ และได้แต่งงาน อีกครั้งหนึ่ง มารดาค้าขายเก่ง มีฐานะดี แต่ต่อมาถูกโกงและป่วย ทำให้ฐานะ ทางการเงิน ทรุดลง แต่ก็ได้รับ ความช่วยเหลือเลี้ยงดู จากคุณลุง ซึ่งเป็นนายแพทย์ ส่วน ด.ช.มงคลนั้น เป็นผู้มีความขยัน หมั่นเพียร อดทน ช่วยมารดาค้าขาย หารายได้ตลอดมา
'''รักษ์ รักษ์พงษ์''' หรือเรียกตัวเองว่า '''[[สมณะ]]โพธิรักษ์''' เป็นผู้ก่อตั้งสำนัก"[[สันติอโศก]]" กับจำเลยในคดีโด่งดังใน พ.ศ. 2541 ซึ่งเรียก "คดีสังฆเภท"
 
รักษ์เกิดเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2477 มีพี่น้องหกคน ตนเป็นคนใหญ่สุด บิดาเสียชีวิตตั้งแต่ยังเล็ก และได้ย้ายตามมารดามาประกอบอาชีพค้าขายที่จังหวัดอุบลราชธานี เมื่อเรียนจบชั้นมัธยมศึกษาตอนมัธยมปลายในกรุงเทพฯ ก็ได้เข้าศึกษาต่อ ที่โรงเรียนเพาะช่าง แผนกวิจิตรศิลป์ เมื่อและ ได้เปลี่ยน ชื่อเป็น รัก รักพงษ์ ขณะที่เรียนอยู่ที่ โรงเรียนเพาะช่างนี้ เรียนจบแล้ว ท่านได้เข้าทำงาน ที่ บริษัท ไทยโทรทัศน์ จำกัด (พ.ศ. ๒๕๐๑) โดยเป็นผู้จัด รายการเด็ก, รายการการศึกษา และรายการ วิชาการต่างๆ จนมี ชื่อเสียง ในสมัยนั้น ทั้งยังเป็น ครูพิเศษ สอนศิลปะตามโรงเรียนต่างๆ ด้วย และเมื่อมารดา ถึงแก่กรรม ก็ได้รับภาระเลี้ยงดูน้องหกน้องๆ ทั้ง ๖ คน ให้เรียนจนจบ ตามความต้องการ ของแต่ละคน รัก รักพงษ์ มีความสามารถในศิลปการประพันธ์ ทั้งเรื่องสั้น สารคดี บทกวี บทเพลง โดยเฉพาะ เพลง "ผู้แพ้" ซึ่งประพันธ์ สมัยที่เรียนอยู่ที่โรงเรียนเพาะช่าง และทำงาน เป็นเด็กส่งหนังสือพิมพ์ไปด้วย ได้รับความนิยมสูงสุด ในสมัยนั้น (พ.ศ. ๒๔๙๗ - พ.ศ. ๒๔๙๘) และทั้งเพลงที่ประกอบภาพยนต์ เรื่องโทน เช่น เพลงฟ้าต่ำแผ่นดินสูง เพลงชื่นรัก เพลงกระต่ายเพ้อ เป็นต้น ก็ได้รับความนิยมสูงเช่นกัน
 
รัก รักพงษ์ เคยสนใจเรื่องไสยศาสตร์ อยู่ระยะหนึ่ง มีคนนิยมมาก จนกระทั่ง ได้หันมาศึกษา พุทธศาสนา อย่างเอาจริงเอาจัง จนเกิดความซาบซึ้ง และเห็นคุณค่า ของพุทธศาสนา ท่านได้ปฏิบัติ อย่างเคร่งครัดตลอดมา จนสามารถเลิกละ อบายมุข โลกธรรม กามคุณ รับประทาน อาหารมังสวิรัติ วันละ ๑ มื้อ จนเกิดความมั่นใจแล้ว จึงอุปสมบทที่ วัดอโศการาม จ.สมุทรปราการ ในคณะ ธรรมยุติกนิกาย เมื่อวันที่ ๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๓ ได้รับฉายาว่า "พระโพธิรักขิโต" มี พระราชวรคุณ เป็นอุปัชฌาย์ เมื่อได้บวชในพุทธศาสนาแล้ว ท่านก็ยังปฏิบัติ เคร่งครัด สงบสำรวม เป็นที่ศรัทธา เลื่อมใส จนมีผู้มาขอศึกษา ปฏิบัติตาม ทั้งฆราวาส และนักบวช จากคณะธรรมยุต และมหานิกาย
รักษ์บวชเป็นพระภิกษุฝ่ายธรรมยุติกนิกายเมื่อปี 2513 ที่[[วัดอโศการาม]] ตำบลท้ายบ้าน อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ แต่เพราะไม่ประพฤติตามโอวาทของพระอุปัชฌาย์ ในปี 2516 พระอุปัชฌาย์ได้ขอหนังสือสุทธิมาบันทึกว่า ไม่รับปกครอง รักษ์จึงได้เข้าสังกัดในคณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกายที่วัดหนองกระทุ่ม ตำบลทุ่งลูกนก อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม
 
ต่อมาพระราชวรคุณ ซึ่งเป็นอุปัชฌาย์ ไม่ต้องการ ให้พระ ฝ่ายมหานิกาย มาศึกษาอยู่ร่วมด้วย พระโพธิรักษ์ จึงเข้ารับการสวดญัตติฯ เป็นพระของ คณะมหานิกาย อีกคณะหนึ่ง โดยมิได้สึกจาก คณะธรรมยุต ที่วัดหนองกระทุ่ม จ.นครปฐม โดยมีพระครู สถิตวุฒิคุณ เป็นอุปัชฌาย์ เมื่อวันที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๖ ทั้งนี้เพราะ พระโพธิรักษ์ มุ่งสารธรรมเป็นใหญ่ ไม่ติดใจเรื่องนิกาย จึงมีพระทั้ง มหานิกาย และ พระธรรมยุต ที่มีปฏิปทาเป็น “สมานสังวาส”กัน มาร่วมศึกษา ปฏิบัติอยู่ด้วย โดยยึดถือธรรมวินัย เป็นใหญ่ ซึ่งทำให้ พระอุปัชฌาย์ ทางฝ่ายธรรมยุต ไม่พอใจ ท่านจึงคืนใบสุทธิ ให้ฝ่ายธรรมยุตไป เมื่อวันที่ ๒๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๖ คงถือแต่ใบสุทธิ ฝ่ายมหานิกาย เพียงอย่างเดียว แต่ท่านก็มีพระ จากทั้ง ๒ นิกาย อยู่ร่วมศึกษา ปฏิบัติด้วย เพราะท่านไม่รังเกียจ นิกายใดๆ มุ่งหมายทำงาน เพื่อพระศาสนา เพื่อประโยชน์ ส่วนรวม โดยไม่ให้ผิด พระวินัยเป็นสำคัญ
 
การปฏิบัติที่เคร่งครัดของท่านและคณะ เช่น การฉันอาหาร มังสวิรัติ วันละ ๑ มื้อ, ไม่ใช้เงินทอง, นุ่งห่มผ้าย้อมสีกรัก, มีชีวิตอย่างเรียบง่าย, ไม่มีการเรี่ยไร, ไม่รดน้ำมนต์-พรมน้ำมนต์, ไม่ใช้การบูชา ด้วยธูปเทียน, ไม่มีไสยศาสตร์ฯ เหล่านี้ ซึ่งแตกต่าง จากพระสงฆ์ ในมหาเถรสมาคม ที่มีความเป็นอยู่ อย่างสุขสบาย ทำให้บางครั้ง ก็ถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่า "นอกรีต"
 
การทำงานพระศาสนาของท่านได้รับอุปสรรคตลอดมา ท่านและคณะ จึงประกาศลาออกจาก มหาเถร สมาคม เมื่อวันที่ ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๘ ซึ่งการกระทำเช่นนี้ เรียกว่า "นานาสังวาส" และ มีสิทธิที่จะ ได้รับ ความคุ้มครอง ตามมาตรา ๒๕ ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย อย่างไรก็ตาม พระโพธิรักษ์ และคณะ ก็ได้รับการพิพากษาว่าเป็น "ผู้แพ้" ไม่สามารถ เรียกขานตนเอง ว่า "พระ" ได้ ท่านจึงเรียกตนเองว่า "สมณะ" แทน และยังคงปฏิบัติ เคร่งครัดเหมือนเดิม
 
การกระทำทั้งหมดนี้ มิได้เกิดจากความตั้งใจ ของท่านเลย ในอันที่จะแบ่งแยก แต่เกิดโดยธรรม เริ่มตั้งแต่ "รัก รักพงษ์" ได้ปฏิบัติตน อย่างเคร่งครัด ตามพระธรรมวินัย จนพบ "อริยสัจธรรม" จากนั้น จึงเข้าไป อุปสมบท จากทั้ง ๒ นิกาย แต่การปฏิบัติ ของท่านและคณะนี้ กลับทำให้ท่านและคณะ ต้องแยกตัวเป็น “นานาสังวาส" มาจนทุกวันนี้
 
ปัจจุบันท่านได้นำพาหมู่กลุ่มชาวอโศก สร้าง "ชุมชนบุญนิยม" ตามปรัชญา แห่งศาสนาพุทธ ที่เชื่อมั่นว่า สัมมาทิฏฐิ เป็นแกนสำคัญ ของมนุษย์ และสังคมโดย มีความเป็นอยู่ อย่างเรียบง่าย, พึ่งตนเองได้, สร้างสรร, ขยัน-อดทน, ไม่เอาเปรียบใคร, ตั้งใจเสียสละ จนได้รับ การขนานนามว่า "ชุมชนคนพอเพียง"
-------------------------------------------------------------------
เนื่องจากรักษ์ประพฤติผิดพระธรรมวินัยหลายประการ คณะสงฆ์จึงเสนอเรื่องต่อที่ประชุมมหาเถรสมาคมเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2525 มหาเถรสมาคมได้ตั้งคณะทำงานขึ้นสามคณะ คือ คณะทำงานด้านธรรมวินัย คณะทำงานด้านกฎหมาย คณะทำงานด้านมวลชน เพื่อสืบหาข้อเท็จจริง คณะทำงานด้านพระธรรมวินัยมีความเห็นว่า รักษ์ล่วงละเมิดพระธรรมวินัย ส่วนคณะทำงานด้านกฎหมายมีความเห็นว่า รักษ์ไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 ต่อมา ที่ประชุมมหาเถรสมาคมได้ตั้งคณะการกสงฆ์เพื่อรวบรวมข้อมูลเสนอต่อมหาเถรสมาคม คณะการกสงฆ์ได้ประชุมกันโดยมี[[สมเด็จพระธีรญาณมุนี (ธีร์ ปุณฺณโก)]] วัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร เป็นประธาน คณะการกสงฆ์ได้มีมติสี่ประการ คือ (1) ให้มหาเถรสมาคมใช้อำนาจตามมาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 โดยสั่งให้รักษ์สละสมณเพศ (2) บริวารของรักษ์ซึ่งเข้าบวชโดยไม่ถูกต้องตามพระธรรมวินัย ถ้าต้องการจะบวชให้ถูกต้อง ก็ให้มารายงานตัวต่อสังฆาธิการระดับเจ้าคณะจังหวัดผู้เป็นการกสงฆ์ขึ้นไป (3) ให้ประกาศนียกรรมแก่พุทธบริษัทให้ทราบข้อเท็จจริงโดยทั่วกัน และ (4) ให้กรมการศาสนาแจ้งแก่ภิกษุสามเณรทั่วราชอาณาจักรให้ทราบข้อเท็จจริงและมิให้คบหาสมาคมรักษ์และบริวาร
 
เส้น 24 ⟶ 34:
{{รายการอ้างอิง}}
 
http://www.asoke.info/01Religion/Bodhirak/bodhi_main.html
{{เรียงลำดับ|พธิรักษ์}}
 
{{เกิดปี|2477}}
[[หมวดหมู่:บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่]]
[[หมวดหมู่:นักบวชในศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:อาชญากร]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดศรีสะเกษ‎]]
[[หมวดหมู่:การเมืองภาคประชาชน]]
[[หมวดหมู่:พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากวิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร์]]