ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บาทบริจาริกา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พุทธามาตย์ ย้ายหน้า สนม ไปยัง พระสนม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''สนมพระสนม''' ({{lang-en|ConcubineRoyal mistress}}) เป็นตำแหน่งอนุภรรยา หรือภรรยาน้อยของพระเจ้าแผ่นดิน ตำแหน่งพระสนมนั้นไม่นับว่าเป็นบุคคลในพระ[[ราชวงศ์]] พระราชโอรส-พระราชธิดา ที่ประสูติจากพระสนมนั้นจะมีพระยศเป็นเจ้าชาย-เจ้าหญิงชั้นโท เท่านั้น ต่างจากพระราชโอรส-พระราชธิดา ที่ประสูติจากพระ[[มเหสี]] ที่จะดำรงพระยศเจ้าชาย-เจ้าหญิงชั้นเอก
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 18:
ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ นั้นไม่ได้แต่งตั้งพระสนมเอก 4 นางให้มีบรรดาศักดิ์พิเศษดังเช่นสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยบรรดาพระสนมทั้งปวงจะได้รับบรรดาศักดิ์เป็น เจ้าจอม ถ้ามีพระราชโอรส พระราชธิดา ก็จะได้รับบรรดาศักดิ์เป็น เจ้าจอมมารดา เหมือนกันหมด แต่จะแบ่งเป็นพระสนมเอก หรือ พระสนมชั้นใดก็ตาม แบ่งจากชั้นของเครื่องยศที่ได้รับพระราชทาน เพราะฉะนั้นพระสนมที่ออกนามว่าเจ้าจอม หรือเจ้าจอมมารดาก็ดี จะเป็นพระสนมเอก พระสนมโท หรือ พระสนมตรี ก็ได้ เวลาออกนามก็ใช้ว่าดังนี้ เช่น เจ้าจอมแว่น พระสนมเอกในรัขกาลที่1 เจ้าจอมมารดาอ่อน พระสนมเอกในรัชกาลที่5 นอกจากนี้ยังมีตำแหน่งพิเศษคือ เจ้าคุณจอมมารดา ซึ่งจะพระราชทานไม่บ่อยนัก พระราชทานแก่พระสนมเอกผู้ใหญ่ที่ได้รับราชการด้วยความสุจริตมาเป็นเวลานาน หรือในกรณีที่พระสนมท่านนั้น เป็นพระชนนีในพระภรรยาเจ้าของพระมหากษัตริย์ จึงทรงยกย่องให้เป็นพิเศษ เช่น เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยม ในรัชกาลที่4 (พระชนนีในสมเด็จพระอัครมเหสีในรัชกาลที่5 ทั้งสามพระองค์) เจ้าคุณจอมมารดาสำลี ในรัชกาลที่4 (พระชนนีในพระนางเจ้าสุขุมาลมารศรี พระราชเทวีในรัชกาลที่5) และ เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัขกาลที่5 (บาทบริจาริกาท่านแรกในรัชกาลที่5 ซึ่งรัชกาลที่4 ทรงสู่ขอมาเป็นสะใภ้หลวง พระราชทานตั้งแต่ครั้งรัชกาลที่5 ทรงดำรงพระยศเป็นสมเด็จเจ้าฟ้าชายจุฬาลงกรณ์) เป็นต้น
 
[[หมวดหมู่:สนมพระสนม| ]]