ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่
Chiangmai2499 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 71:
ทั้งนี้นี้นายโฆสิตเคยดำรงตำแหน่งสำคัญๆ ของประเทศหลายตำแหน่ง อาทิ รองนายกรัฐมนตรีและ รมว.อุตสาหกรรม รมว.คลัง รมว.เกษตรและสหกรณ์ ในด้านประวัติการรับราชการ นายโฆสิตเคยเป็นรองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) และยังมีประสบการณ์ทำงานระดับนานาชาติในฐานะนักเศรษฐศาสตร์ ประจำธนาคารโลก ที่กรุงวอชิงตัน ดีซี
นอกจากนี้ยังเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางจากการทำงานด้านการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในระหว่างที่ดำรงตำแหน่งในธนาคารกรุงเทพ ก็ได้จัดตั้งโครงการเกษตรก้าวหน้า เพื่อสนับสนุนเกษตรกรให้ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ ในการเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพผลผลิตการเกษตร นอกจากนั้น ยังได้ริเริ่มโครงการสำคัญๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาธุรกิจขนาดและขนาดย่อม  หลายโครงการ
โฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ ประธานคณะกรรมการบริหาร ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ถึงแก่อนิจกรรม
ด้วยโรคมะเร็งตับ
หลังเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
บรรทัด 83:
อดีตรัฐมนตรีในหลายรัฐบาล ทั้งรมว.เกษตรและสหกรณ์, รมว.อุตสาหกรรม, รมว.คลัง รวมถึงอดีตส.ว.ปี 2539
ปี 2542 นั่งเก้าอี้ประธานกรรมการบริหารธนาคารกรุงเทพ
รายงานข่าวจากธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) แจ้งว่า เมื่อเวลาประมาณ 15.00 น. วานนี้ (1มิ.ย.) นายโฆสิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ ประธานคณะกรรมการบริหาร ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ได้ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคมะเร็ง ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สิริอายุ 73 ปี กำหนดการพระราชทานน้ำหลวงอาบศพ ในวันพฤหัสบดีที่ 2 มิ.ย.2559 พระบรมราชานุเคราะห์ พระพิธีธรรม สวดพระอภิธรรม วันพฤหัสบดีที่ 2 ถึงวันเสาร์ที่ 4 มิ.ย.2559 ณ ศาลา 14 สุวรรณวณิชกิจ (วรจักรยนต์) วัดเทพศิรินทราวาส
ทั้งนี้ นายโฆสิต เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางจากการทำงานด้านการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในระหว่างที่ทำหน้าที่ผู้บริหารในธนาคารกรุงเทพ ได้จัดตั้งโครงการเกษตรก้าวหน้า เพื่อสนับสนุนเกษตรกรให้ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ ในการเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพผลผลิตการเกษตร และยังได้ริเริ่มโครงการสำคัญๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาธุรกิจขนาดและขนาดย่อม (SMEs) หลายๆ โครงการ
บรรทัด 91:
จากนั้น เข้าสู่งานการเมือง โดยการรับตำแหน่งเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (พล.อ.สุจินดา คราประยูร) ในปี 2535 และรับตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในรัฐบาลของนายอานันท์ ปันยารชุน และรับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์อีกครั้ง ในรัฐบาลของนายอานันท์ ปี 2535
ต่อมาปี 2537 รับตำแหน่งกรรมการบริหารธนาคารกรุงเทพ จนกระทั่งในปี 2538 ได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ในรัฐบาลของนายบรรหาร ศิลปอาชา และตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลของพล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ หลังจากนั้นในปี 2542 ได้เข้ารับตำแหน่งประธานกรรมการบริหารธนาคารกรุงเทพ ก่อนจะกลับเข้าสู่งานการเมืองอีกครั้งในรัฐบาลของพล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ รับตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}